140 likes | 382 Views
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559. ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559. หลักการสำคัญ. 1. สร้างศักยภาพและความสามารถแข่งขันด้านกล้วยไม้ โดยเน้น 1.1 สร้างความเข้มแข็งคลัสเตอร์กล้วยไม้ 1.2 เป็นศูนย์กลางนวัตกรรมและศูนย์ข้อมูลกล้วยไม้ของโลก
E N D
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ.2554-2559
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 หลักการสำคัญ 1. สร้างศักยภาพและความสามารถแข่งขันด้านกล้วยไม้ โดยเน้น 1.1 สร้างความเข้มแข็งคลัสเตอร์กล้วยไม้ 1.2 เป็นศูนย์กลางนวัตกรรมและศูนย์ข้อมูลกล้วยไม้ของโลก 2. ใช้อำนาจคณะรัฐมนตรี กำหนดนโยบายให้ทุกภาคส่วนสนับสนุนกล้วยไม้ตามภารกิจและศักยภาพ ในฐานะที่กล้วยไม้เป็นสินค้าที่ส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศไทย วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 พันธกิจ 1. ผลักดันให้มีการส่งออกกล้วยไม้เพิ่มมากขึ้น 2. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการส่งออก 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดคลัสเตอร์กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง 4. พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมกล้วยไม้ ศูนย์กลาง ข้อมูลและตลาดข้อมูลกล้วยไม้ระดับโลก (World Orchid Net) 5. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้มากขึ้นในการประดับตกแต่งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีกรอบทิศทางการพัฒนากล้วยไม้ของประเทศไทยชัดเจนอย่างเป็นระบบ ทำให้เกิดข้อได้เปรียบในการแข่งขัน และประสบความสำเร็จในเวทีการค้าไม้ดอกโลก 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพและเสริมสร้างขีดความสามารถในการขยายตลาดการส่งออก เป้าประสงค์ 1.เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ จาก 2,834.5 ล้านบาทในปี 2551 เป็น 10,000 ล้าน บาทในปี 2559 โดยมีอัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออกจาก ปี 2554-2559 เฉลี่ยร้อยละ 19.24(ดอกกล้วยไม้ ร้อยละ 19.09 ต้นกล้วยไม้ ร้อยละ 25.31)
อัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออก จากปี พ.ศ. 2554-2559 วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก ส่งออกกล้วยไม้มูลค่า 10,000 ลบ. 59 อัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 19.24 (ดอกกล้วยไม้ ร้อยละ 19.09 ต้นกล้วยไม้ ร้อยละ 25.31) 58 8,500 ลบ. 57 7,050 ลบ. 56 5,850 ลบ. 55 4,700 ลบ. 54 4,000ลบ.
อัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออก แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ช่วงปี 2552-2554 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 15.47 เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวจากภาวะตกต่ำในปี 2551 ทำให้ปริมาณการใช้ดอกไม้ปรับตัวดีขึ้น ระยะที่ 2 ช่วงปี 2554-2557 อัตราการขยายตัวปรับตัวดีขึ้นจากเดิม เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 21.6 เศรษฐกิจดีขึ้น ประกอบกับการสนับสนุนการดำเนินงานจากหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก ระยะที่ 3 ช่วงปี 2557-2559 อัตราขยายตัวปรับลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ในระดับสูง เฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 19.10
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 เป้าประสงค์ (ต่อ) 2. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นและเกิดประโยชน์ ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3. ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 กลยุทธ์ 1. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก 2. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 3. พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 4. พัฒนาองค์กร 5. ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก
งบประมาณ รวม 308.091 ล้านบาท
กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • คณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ กำกับดูแลงานวิจัย พัฒนา ส่งเสริมเผยแพร่ และพัฒนาการตลาด ระบบโลจิสติกส์ ตลอดจนแผนงานโครงการเกี่ยวกับกล้วยไม้ของหน่วยงานต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ และแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับสินค้ากล้วยไม้ • บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละสายงาน และทำให้เกิดความเชื่อมโยง เพื่อให้การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • มีรายได้จากการส่งออกกล้วยไม้เพิ่มขึ้นเป็น 10,000ล้านบาทในปี 2559 • เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น • ธุรกิจที่เกี่ยวข้องหลายภาคส่วนตลอด supply chainได้รับผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องจากอุตสาหกรรมกล้วยไม้เพิ่มมากขึ้น • มีรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มมากขึ้นจากการเข้ามาเที่ยวชมกล้วยไม้ในประเทศไทย
สรุปแผนผังยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 เป้าประสงค์ : 1. เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ โดยมีเป้าหมายอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 19.24 โดยเป้าหมายการส่งออกมูลค่า 10,000 ล้านบาท ในปี 2559 2. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นและเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3. ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้ วิสัยทัศน์ : เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก แผนงานพัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม แผนงานเพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดและการส่งออก แผนงานส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ แผนงานพัฒนาองค์กร 1. โครงการสร้างตลาดเชิงรุก 1.1 ขยายช่องทางการตลาด -ศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางการขยายตลาด ในตลาดใหม่ -ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อ การส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม - โครงการนำร่องจากผลการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม 1.2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยทั้งในและ ต่างประเทศ 1.3 ส่งเสริมการส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน การส่งออกและตรวจสอบย้อนกลับได้ 2. โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการในการส่งออกและ โลจิสติกส์ - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ - โครงการนำร่องจากผลการศึกษาแก้ไขปัญหาและ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ 1. โครงการส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ ให้มีความหลากหลาย 2. โครงการส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก 1. โครงการส่งเสริมการสร้าง คลัสเตอร์กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง 2. โครงการสร้างศูนย์กลาง การให้บริการกล้วยไม้แบบเบ็ดเสร็จ - จัดสร้างระบบเครือข่ายข้อมูล กล้วยไม้ระดับโลก (World Orchid Net) - จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี และฝึกอาชีพกล้วยไม้ - จัดตั้งศูนย์บริการด้านการตลาด กล้วยไม้ 1. โครงการส่งเสริมงานวิจัยเชิง บูรณาการระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการและนักวิจัย 2. โครงการจัดประกวดนวัตกรรม 3. โครงการจัดงานนวัตกรรม กล้วยไม้นานาชาติ งบประมาณรวม: 308.091ล้านบาท แผนงานส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก 1. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ภายในประเทศอย่างแพร่หลายเพื่อให้ประเทศไทยเป็น Land of Orchids และเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไทย 2. ให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนและผลักดันการใช้และการส่งออกกล้วยไม้ตามภารกิจและศักยภาพที่มีอยู่ 3. ให้ใช้กล้วยไม้เป็นหลักในการประดับตกแต่งสถานที่ ได้แก่ สนามบินนานาชาติ สวนสาธารณะ โรงแรม รีสอร์ท หน่วยงานราชการ เอกชน รวมทั้งการจัดงานพิธี การจัดประชุมสัมมนาต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
Strategy Mapยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ.ศ. 2554-2559 Output Activity Input Strategy 1. การสร้างตลาดเชิงรุก 1.1 ขยายช่องทางการตลาด -ศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางขยายตลาดในตลาดใหม่ -ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม -โครงการนำร่องจากผลการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม 1.2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยทั้งในและต่างประเทศ 1.3 ส่งเสริมการส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานการส่งออกและตรวจสอบย้อนกลับได้ 1.สามารถรักษาตลาดคู่ค้าเดิม 2.ขยายการส่งออกสู่ ตลาดใหม่ 3.ส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานตรวจสอบย้อนกลับได้ 4.มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 30% (500 ล้านบาทต่อปี) 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใน การส่งออกและโลจิสติกส์ 2.1 ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ 2.2 โครงการนำร่องจากผลการศึกษาแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก 177.13 ล้านบาท 1.สินค้ากล้วยไม้มีความหลากหลาย 2.สวนกล้วยไม้และโรงงานได้รับ GAP และ GMP 3.มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20% (333.3ล้านบาทต่อปี) ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 17.7 ล้านบาท 2. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก 1. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ให้มีความหลากหลาย 1.มีนวัตกรรมเกิดมากขึ้น 2.มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20% (333.3ล้านบาทต่อปี) 1. ส่งเสริมงานวิจัยเชิง บูรณาการระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการและนักวิจัย 64.8 ล้านบาท พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 3. จัดงานนวัตกรรมกล้วยไม้นานาชาติ 2. จัดประกวดนวัตกรรม 1.มีคลัสเตอร์ที่เข้มแข็ง 2.ผู้เกี่ยวข้องได้พัฒนาความรู้ 3.มีศูนย์ให้บริการข้อมูลและการซื้อขาย 4.มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20% (333.3ล้านบาทต่อปี) 2. สร้างศูนย์กลางการให้บริการกล้วยไม้แบบเบ็ดเสร็จ 2.1 จัดสร้างระบบเครือข่ายข้อมูลกล้วยไม้ระดับโลก (World Orchid Net) 2.2 จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอาชีพกล้วยไม้ 2.3 จัดตั้งศูนย์บริการด้านการตลาดกล้วยไม้ 1. ส่งเสริมการสร้าง คลัสเตอร์กล้วยไม้ที่ เข้มแข็ง 42.869 ล้านบาท พัฒนาองค์กร 1.มีการใช้กล้วยไม้ในประเทศเพิ่มขึ้น 2.ส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นดินแดนแห่งกล้วยไม้ (Land of Orchid) 3.มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 10% (166.7 ล้านบาทต่อปี) 2. ทุกหน่วยงานให้การสนับสนุนและผลักดันการใช้และส่งออกตามภารกิจและศักยภาพ 3. ใช้กล้วยไม้ที่มีคุณภาพเป็นหลักในการประดับตกแต่งสถานที่ เช่น สนามบินนานาชาติ สวนสาธารณะ งานพิธีต่าง ๆ ไม่ใช้งบประมาณ ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก 1. ส่งเสริมการใช้ภายในประเทศอย่างแพร่หลาย (Land of Orchid) 1.เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ อัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 19.24 โดยมีเป้าหมายการส่งออก 10,000ล้านบาท ในปี 2559 2 มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นในประเทศ และเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3. เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้ และเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมกล้วยไม้ของโลก Outcome