120 likes | 337 Views
ผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น. พิ ริยา ภรณ์ สังข ปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา. พลังงานชีวภาพ.
E N D
ผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่นผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น พิริยาภรณ์สังขปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา
พลังงานชีวภาพ • Biofuelคือ เชื้อเพลิงที่ได้จากชีวมวล (Bimass) หรือ สสารที่ได้จากพืชและสัตว์โดยมีพื้นฐานจากการสังเคราะห์แสง แล้วเก็บรวบรวมพลังงานจากดวงอาทิตย์เอาไว้ในรูปของพลังงานเคมี
แหล่งวัตถุดิบการผลิตเอทานอลแหล่งวัตถุดิบการผลิตเอทานอล • วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลได้จากพืช 2 ประเภท คือ • พืชที่ให้น้ำตาล ได้แก่ อ้อย และข้าวฟ่างหวาน • พืชที่ให้แป้ง เช่น พืชหัว (tuber crop) ได้แก่ มันสำปะหลัง มันเทศ มันฝรั่ง และเมล็ดธัญพืช (cereal grain) เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด
กระบวนการผลิตเอทานอลจากข้าวสาลีกระบวนการผลิตเอทานอลจากข้าวสาลี ที่มา : Feed Opportunities from the Biofuels Industries (FOBI) , (2011)
การเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็นเอทานอลโดยการหมักของยีสต์การเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็นเอทานอลโดยการหมักของยีสต์ C6H12O6 + ยีสต์------> 2C2H5OH + 2CO2 + 28.7 Kcal (กลูโคส) (เอทานอล) (คาร์บอนไดออกไซด์) 180 กรัม 2x46 กรัม 2x44 กรัม คิดเป็นร้อยละ 100 กรัม 51.11 กรัม 48.89 กรัม
DDGS • Dried distillers’ grains with solubles • เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต Bio-Ethanol มีคุณค่าทางโภชนะเพียงพอที่จะเป็นอาหารสัตว์ได้ • ผลพลอยได้ที่ออกมามีสัดส่วนของ โปรตีน ไขมัน และเยื่อใย เพิ่มมากขึ้น
ตารางแสดงองค์ประกอบทางเคมีของ DDGS ที่ได้จากวัตถุดิบตั้งต้นการผลิตที่แตกต่างกัน ที่มา : 1 = May et al. (2010), 2 = Mohawk (2002) , 3 = Depenbusch et al. (2009)
ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น ที่ได้รับ Wheat DDGSระดับที่แตกต่างกัน ที่มา : Avelar et.al (2010)
กราฟ ผลของการใช้ Wheat DDGS ต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น ที่มา : P. Cozannet, Y. Primot, C. Gady, J. P. Métayer, M. Lessire, F. Skiba and J. Noblet (2010)
สรุปและข้อเสนอแนะ • อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน ADG พบว่าใช้ Wheat DDGS ที่ระดับ 0% 10% สุกรรุ่นมีเจริญเติบโตดีกว่า Wheat DDGS ที่ระดับ 15% และ 20% อัตราการกินต่อวัน ADFI พบว่าไม่มีผลกระทบต่อปริมาณการกินของสุกรรุ่นประสิทธิภาพการใช้อาหาร พบว่า Wheat DDGS ที่ระดับ 0% 5% 10% ดีกว่า Wheat DDGS ระดับ 20% • ผลพลอยได้จาก DDGS มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นตามการผลิตเอทานอล วัตถุดิบตั้งต้นเดิมที่ใช้เป็นอาหารสัตว์จะมีราคาแพงและนั่นทำให้แนวโน้มการใช้ DDGS ในอนาคตเพิ่มขึ้น ความเป็นไปได้ในการใช้ DDGS เป็นอาหารสุกรเป็นไปในทางที่ดี ทั้งเรื่องของสมรรถนะการผลิตและคุณภาพเนื้อ DMI, ADG
กิตติกรรมประกาศ • ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา อาจารย์ที่ปรึกษา • รศ.ดร.ฉลอง วชิราภากร อาจารย์ประจำวิชา • อ.ดร.อนุสรณ์ เชิดทอง อาจารย์ประจำวิชา • พี่ และเพื่อน ทุกท่าน
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ