340 likes | 878 Views
แนวทางการส่งเสริมมันสำปะหลังไทยสู่ AEC. สถานการณ์การผลิต มันสำปะหลังของโลก. พื้นที่ปลูก ร้อยละ 65 แอฟ ริกา 20 เอเชีย 15 ลาตินอเมริกา ผลผลิต ร้อยละ 55 แอฟ ริกา 35 เอเชีย 13 ลาตินอเมริกา ผลผลิตเฉลี่ย แอฟ ริกา 1.7 เอเชีย 3.2 ลาตินอเมริกา 2.0 (ตัน/ไร่). ความต้องการใช้
E N D
สถานการณ์การผลิตมันสำปะหลังของโลกสถานการณ์การผลิตมันสำปะหลังของโลก พื้นที่ปลูก ร้อยละ 65แอฟริกา20 เอเชีย15 ลาตินอเมริกา ผลผลิต ร้อยละ 55 แอฟริกา35 เอเชีย13 ลาตินอเมริกา ผลผลิตเฉลี่ยแอฟริกา 1.7เอเชีย 3.2 ลาตินอเมริกา 2.0 (ตัน/ไร่)
ความต้องการใช้ - ความต้องการใช้มันสำปะหลังของประเทศผู้ผลิต ทั้งในทวีปแอฟริกา เอเชีย และละตินอเมริกา ใช้บริโภคภายในประเทศเป็นหลัก ประมาณร้อยละ 90 ของผลผลิตทั้งหมด โดยอยู่ในรูปหัวมันสดและในรูปผลิตภัณฑ์ - ประเทศไทยที่มีการใช้ในประเทศร้อยละ 20-25 ของปริมาณผลผลิตที่ผลิตได้
ปี 2556 ความต้องการใช้มันสำปะหลังเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา • เพื่อเป็นอาหารและพลังงาน โดยความต้องการใช้มันสำปะหลังสำหรับอุตสาหกรรมเอทานอลในทวีปเอเชียทำให้ความต้องการใช้มันสำปะหลังของโลกขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยจีน และเวียดนาม • ในกลุ่มประเทศแอฟริกาและละตินอเมริกา มีมาตรการส่งเสริมให้ใช้แป้งมันสำปะหลังทดแทนธัญพืชนำเข้า โดยบราซิล มีมาตรการให้ผสมแป้งมันสำปะหลังร้อยละ 10 ในแป้งสาลี ทำให้การบริโภคแป้งมันสำปะหลังสูงขึ้น
การส่งออก ปี 2550-2554 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของโลก (มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง) ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.69 และร้อยละ 25.71 ต่อปีตามลำดับ ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ คือ ไทย มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ60.72รองลงมาได้แก่ เวียดนามและอินโดนีเซีย มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ30.91และ ร้อยละ2.55ตามลำดับ
ปริมาณและมูลค่าส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของโลก ปี 2550-2554 ปริมาณ : ล้านตัน มูลค่า : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
พื้นที่ปลูก(ล้านไร่) ผลผลิตรวม (ล้านตัน) และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่
พื้นที่ปลูก(ล้านไร่) ผลผลิตรวม (ล้านตัน) และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่
สถานการณ์ของไทย • การผลิต • เกษตรกรผู้ปลูกประมาณ 500,000 ราย • เป็นเกษตรกรรายย่อย พท.ปลูกเฉลี่ย 16 ไร่/ครัวเรือน • ผลิตมันสำปะหลังได้มากที่สุดในเอเชีย ยกเว้นปีที่ประสบปัญหาเพลี้ยแป้งระบาดที่ทำให้ผลิตได้น้อยกว่าอินโดนีเซีย • พท. ปลูกปีละประมาณ 8 ล้านไร่ ผลผลิตประมาณปีละ 26 – 30 ล้านตัน
เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี2552-2557
ปริมาณและมูลค่าการส่งออกมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ปริมาณและมูลค่าการส่งออกมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ : ล้านตัน มูลค่า : ล้านบาท
ตลาดหลักที่สำคัญของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย - มันเส้น ได้แก่ จีน - มันอัดเม็ด ได้แก่ จีน และญี่ปุ่น - แป้งมันสำปะหลังดิบ ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย ไต้หวัน มาเลเซีย และญี่ปุ่น - แป้งมันสำปะหลังดัดแปร ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน และอินโดนีเซีย
เชียงราย แหล่งผลิตสินค้าเกษตรหลักที่สำคัญตามเขตพื้นที่ (Zoning) ของไทย เชียงใหม่ ผลไม้ ยางพารา แหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญของประเทศไทย กระจายตัวอยู่ตามแหล่งผลิต ในส่วนภูมิภาคของประเทศ ทั้งนี้ สินค้าเกษตร ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งออกให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ประกอบด้วย หนองคาย ข้าว อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าว อ้อย ยางพาราผลไม้ มันสำปะหลัง ข้าว อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าว ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ข้าว ยางพารา ผลไม้ มันสำปะหลัง อ้อย มันสำปะหลัง ผลไม้ ปาล์มน้ำมัน ระยอง กุ้ง ผลไม้ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา กุ้ง สุราษฎร์ธานี ข้าว ปาล์มน้ำมัน ยางพารา กุ้ง ปาล์มน้ำมัน ยางพารา สงขลา สตูล ข้าว ยางพารา นราธิวาส 14
ศักยภาพการแข่งขัน (Thailand Competitiveness Matrix) • ตลาดโลก • ตลาดอาเซียน Attractiveness competitiveness
ศักยภาพการแข่งขันมันสำปะหลังของประเทศไทยศักยภาพการแข่งขันมันสำปะหลังของประเทศไทย -ตลาดโลก • ประเทศไทยมีงานวิจัยและพัฒนาที่ดี มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว • มีมาตรฐานการส่งออก พึ่งพาตนเองได้ในการผลิตมันสำปะหลัง • มีถนนภายในประเทศที่ดี เชื่อมต่อไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้ • มีการขนส่งทางเรือที่ดี • นโยบายรัฐในการสนับสนุนการผลิต • การยอมรับของตลาดดีกรณีแป้ง ส่วนมันเส้นต้องปรับปรุง • ต้นทุนการผลิตสูง
-ตลาดอาเซียน ประเทศไทยมีโรงงานแปรรูปที่ทันสมัยและมาตรฐานการส่งออกที่ดี ในขณะที่ต้นทุนยังคงสูงอยู่เมื่อเทียบกับเวียดนาม การวิจัยและพัฒนาอย่างสม่ำเสมอทั้งในเรื่องการพัฒนาสายพันธุ์ที่ดี การป้องกันกำจัดศัตรู และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
การใช้เทคโนโลยีของเกษตรกรไทย(สำรวจปี 2553) • การใช้พันธุ์ดี อันดับ 1 เกษตรศาสตร์ 50 • อันดับ 2 ระยอง 5 อันดับ 3 ระยอง 90 • การใช้ปุ๋ยเคมี อัตราการใช้เฉลี่ยไร่ละ 26.21 กก • การใช้ปุ๋ยคอก อัตราการใช้เฉลี่ยไร่ละ 33.09 กก • การใช้ปุ๋ยหมัก อัตราการใช้เฉลี่ยไร่ละ 1.74 กก
แนวทางการพัฒนา (ยกร่าง) • ต้นน้ำ • 1. การลดต้นทุนการผลิตต่อหน่วย • 1.1 ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน • 1.2 ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อจัดหาปัจจัย • การผลิต, ถ่ายทอดความรู้, แรงงาน(ลงแขก) • 1.3 ส่งเสริมการเชื่อมโยงการใช้ปุ๋ยจากวัสดุเหลือใช้(เปลือกมันสำปะหลัง) กับโรงงานแป้งมันสำปะหลัง
แนวทางการพัฒนา (ยกร่าง) • 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง • 2.1การจัดการดิน • 1) ไถระเบิดดินดาน • 2) ปรับปรุงบำรุงดิน โดยใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยน้ำหมัก, • ปุ๋ยหมัก • 2.2 การจัดการน้ำ เช่น ระบบน้ำหยด น้ำใต้ดิน
แนวทางการพัฒนา (ยกร่าง) • 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง • 2.3 พันธุ์ • 1) ผลิตและกระจายพันธุ์ในพื้นที่ • 2) ส่งเสริมการทำแปลงพันธุ์ไว้ใช้เอง หรือจำหน่าย • 3) คัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพดิน และพื้นที่ • 2.4 การดูแลรักษา • 1) พัฒนาศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศจช.)ให้มีประสิทธิภาพครอบคลุมพื้นที่การปลูกมันสำปะหลัง โดยจัดให้มีเครื่องมือ และวัสดุ
แนวทางการพัฒนา (ยกร่าง) • 2) รณรงค์การใช้เทคโนโลยีด้านการผลิต ได้แก่ การเตรียมดิน การแช่ท่อนพันธุ์ การใช้ระยะปลูกที่เหมาะสม และเทคโนโลยีในการเก็บเกี่ยว • 3) การส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทดแทนแรงงาน ได้แก่ การปลูก การเก็บเกี่ยว ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืช และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสม • 2.5 ศึกษาวิจัยการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง
แนวทางการพัฒนา (ยกร่าง) • กลางน้ำ • 3. การเพิ่มมูลค่าผลผลิต • 3.1การพัฒนากลุ่มเกษตรกรผลิตมันสำปะหลังสะอาดคุณภาพดี • 1) มีการกำหนดมาตรฐานและบังคับใช้มาตรฐานในการกำหนดราคาที่เท่าเทียมกัน • 2) กำหนดเป้าหมายหรือความต้องการในการผลิตมันสำปะหลังเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับซื้อ หรือตลาด
3.2 การพัฒนามันสำปะหลังแบบมีส่วนร่วมแบบครบวงจร เช่น กำแพงเพชรโมเดล โคราชโมเดล (บูรณาการร่วมระหว่างภาครัฐเอกชน/ประกอบการ)
แนวทางการพัฒนา (ยกร่าง) • ปลายน้ำ • 4. การตลาด • 4.1Contract Farming (ตลาดข้อตกลงล่วงหน้า) • 4.2 การเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างผู้ผลิตและผู้รับซื้อ • 1) จัดทำฐานข้อมูลด้านการผลิตและผู้ประกอบการรับซื้อ • ในพื้นที่ • 2) รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านตลาด • และราคารับซื้อ • 3) สร้างเครือข่ายระหว่างผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เพื่อให้สินค้า • มีคุณภาพตามความต้องการของตลาด
4) เพื่อสมรรถนะความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการโดยเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ • - อบรม/ศึกษาดูงานต้นแบบ • - การประชาสัมพันธ์/การสื่อสารโดยผ่านระบบ IT • ข้อเสนอแนะอื่นๆ • 1) จัดตั้งกองทุนพัฒนามันสำปะหลัง
1.มาตรฐานสินค้าเกษตรสู่ AEC เพิ่มความแตกต่าง/เหมือน ระว่าง ASEANGAP+GAP 2.กฎ ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับสินค้าเกษตร (ข้อมูลเพิ่มเติม จากวิทยากรในพื้นที่, รายสินค้าที่มีปัญหารายพื้นที่) 3.กองทุน FTA / การเปิดเสรีด้านการค้า 4.TCM หลักการ/ที่มาของ TCM สรุปว่าแต่ละพืชอยู่ในจุดไหน(จากเอกสาร) 5.แบ่งกลุ่มพืชเพื่อร่วมกันวิเคราะห์แนวทางส่งเสริมรายพืช เพื่อนำสู่การปฏิบัติในพื้นที่ - สถานการณ์การผลิต - สถานการณ์การผลิตของเพื่อนบ้านใน ASEAN - สถานการณ์พืช ข้อได้เปรียบ/เสียเปรียบ เนื้อหาการอบรม เจ้าหน้าที่จังหวัด/อำเภอ ข้อมูลที่วิทยากรกลุ่มนำเสนอ
- แนวทางส่งเสริมภาพรวม - ต้นทุนการผลิต - แนวโน้มพื้นที่ปลูก - ปัญหา จัดทำแนวทางไปสู่การปฏิบัติรายพืช อภิปราย + นำเสนอ ส่งให้จังหวัดไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ ผู้ร่วมอภิปรายนำข้อมูลมาประกอบ