1 / 25

5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน - กระแสของ MOSFET

5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน - กระแสของ MOSFET. NMOS. สัญลักษณ์แบบสี่ขา ( 4-terminal symbol). PMOS. Discrete MOSFET.

lynton
Download Presentation

5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน - กระแสของ MOSFET

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET NMOS สัญลักษณ์แบบสี่ขา (4-terminal symbol)

  2. PMOS

  3. Discrete MOSFET สำหรับ discrete MOSFET ผู้ผลิตจะทำการเชื่อมต่อขา S และขา B เข้าด้วยกัน (ดังนั้น discrete MOSFET จะไม่มี body effect) ทำให้เราสามารถใช้สัญญลักษณ์แบบ 3 ขาได้ NMOS PMOS ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าขา D และ S ของ discrete MOSFET จะไม่สามารถใช้สลับกันได้

  4. MOSFET ในวงจรรวม อย่างไรก็ตามในบางครั้งเราไม่สามารถทำการเชื่อมต่อ B และ S ของ MOSFET ใน IC ได้ ตัวอย่างเช่น NMOS ทุกตัวภายใน IC ที่ผลิตด้วยกระบวนการผลิตแบบ CMOS n-well มาตรฐานจะมีขา B ร่วมกัน ในกรณีนี้จะนิยมต่อขา B ของ NMOS ไปยังแหล่งจ่ายแรงดันต่ำสุดของวงจร (VSSหรือ ground) เพื่อไม่ให้รอยต่อ pn (ระหว่าง BS และ BD ของ NMOS) มีโอกาสอยู่ในสภาวะ on

  5. ในทำนองกลับกัน PMOS ทุกตัวภายใน IC ที่ผลิตด้วยกระบวนการผลิตแบบ CMOS p-well มาตรฐานจะมีขา B ร่วมกัน ในกรณีนี้จะนิยมต่อขา B ของ PMOS ไปยังแหล่งจ่ายแรงดันสูงสุดของวงจร (VDD) เพื่อไม่ให้รอยต่อ pn (ระหว่าง substrate และขา D/S ของ PMOS) มีโอกาสอยู่ในสภาวะ on

  6. หากมีการระบุว่าขา B ของ MOSFET ต่ออยู่ที่ใด เราสามารถใช้สัญญลักษณ์แบบ 3 ขาแทน MOSFET ใน IC ได้ดังนี้ NMOS PMOS Analog Digital

  7. NMOS หากละเลย Body Effect เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างiDกับ vGSและvDS ได้ในสามสภาวะ ได้ดังนี้ Surface mobility ของ electron Gate capacitance ต่อหน่วยพื้นที่ โดย (หน่วย A/V2 ) Noteหากละเลย channel-length modulation effect ด้วยiDของ NMOS ในสภาวะ active จะประมาณได้เป็น

  8. PMOS หากละเลย Body Effect เราสามารถแสดงได้ว่า Surface mobility ของ hole Gate capacitance ต่อหน่วยพื้นที่ โดย

  9. ตัวอย่างการวิเคราะห์วงจร MOSFET ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ NMOS มี K = 0.4 mA/V2และ Vt =2 V จงเลือกค่าตัวต้านทานในวงจรเพื่อให้ NMOS อยู่ในสภาวะ active ID = 0.4 mAและVDS = 4 V และ เนื่องจาก VG = 0 ดังนั้น และ แบบฝึกหัด 1 จงหาว่า RD ต้องมีค่ามากกว่าเท่าไหร่จึงจะทำให้ NMOS อยู่ในสภาวะ triode

  10. ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ NMOS มี K = 0.4 mA/V2และ Vt = 0.9 V และ RD = RS = 10 kWจงเลือกค่า VGเพื่อให้ NMOS อยู่ในสภาวะ active และมี ID = 0.1 mA และ เนื่องจาก VS = (0.1mA)(10kW) = 1 V ดังนั้น VG = 2.4 V แบบฝึกหัด 2 จงทำการตรวจสอบว่า NMOS อยู่ในสภาวะ active จริงหรือไม่ แบบฝึกหัด 3VGจะต้องน้อยกว่าเท่าไหร่ NMOS ถึงอยู่ในสภาวะ cut-off

  11. ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ NMOS มี K = 0.2 mA/V2และ Vt = 0.8 V จงเลือกค่า RDเพื่อให้ ID = 0.8 mA NMOS ทำงานอยู่ในสภาวะ active แน่ ๆ (?) และ เนื่องจาก VDS = VGS = 2.8 V ดังนั้น แบบฝึกหัด 4 จงเลือก RDที่ทำให้ ID = 0.5 mA

  12. ตัวอย่างที่ 4 กำหนดให้ NMOS มี K = 0.1 mA/V2และ Vt = 1 V ถ้า RD = 5 kWจงหา ID แทน VGS = VDS = VDD - IDRD = 5 - 5000IDลงในสมการข้างบนจะได้ จะได้ ID = 0.4 mA, 1.6 mA แบบฝึกหัด 5 ถ้า RD = 2 kWจงหา ID

  13. ตัวอย่างที่ 5 กำหนดให้ NMOS มี K = 0.5 mA/V2และ Vt = 1 V ถ้า R1 = R2 = 10 kWและ RD = RS = 6 kW จงหา ID แทนVG = 5 V และ VS = IDRD = 6000IDลงในสมการข้างบนจะได้ จะได้ ID = 0.5 mA, 0.89 mA VDS = 4 V

  14. 5.4 MOS Inverter

  15. NMOS Inverter ถ้าเราแทนที่ RDด้วย NMOS ที่ทำการลัดวงจรขา D และ G NMOS จะอยู่ในสภาวะ active เสมอเพราะ vGS > vGS - Vtn vDS > vGS - Vtn = Veff

  16. ในช่วง A-B’ M1 cut-off ทำให้ iD1 = iD2 = 0,

  17. CMOS Inverter

  18. 0<vI<Vtn MP อยู่ในสภาวะ triode โดย K(2VeffP-vSDP)vSDP = 0 vSDP = 0 VDD-|Vtp|< vI < VDD MN อยู่ในสภาวะ triode โดย K(2VeffN-vDSN)vDSN = 0 vDSN = 0

  19. CMOS Inverter VDD

  20. ย่าน II เมื่อเพิ่ม vIจะทำให้ vOตกลงและ MPอยู่ในสภาวะ triode จนกระทั่ง ย่าน IV เมื่อลดvIจะทำให้ vO เพิ่มขึ้นและ MNอยู่ในสภาวะ triode จนกระทั่ง MP เข้าสู่สภาวะ active ย่าน III MN เข้าสู่สภาวะ active

  21. แบบฝึกหัด 6 รูปข้างล่างแสดงกราฟโอนย้ายแรงดันของวงจรกลับตรรกะ CMOS ที่มี VDD = 5 V ถ้า จงหาว่า vIในช่วงใดที่ทำให้ 1) MN/cut off และ MP/triode(2) MP/cut off และ MN/triode

More Related