800 likes | 1.97k Views
ขั้นตอน ของการบริหารเชิงกลยุทธ์. 1. วางแผนกลยุทธ์ (Strategic Management) 2. ปฏิบัติตามแผน (Strategic Implementation) 3. ประเมินผลกลยุทธ์ (Strategic Evaluation). ภาพแสดงการควบคุมกลยุทธ์. กำหนดมาตรฐาน. ดำเนินการแก้ไข. วัดผลการดำเนินงาน. เปรียบเทียบผลกับมาตรฐาน. ระดับกลยุทธ์.
E N D
ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ 1. วางแผนกลยุทธ์ (Strategic Management) 2. ปฏิบัติตามแผน (Strategic Implementation) 3. ประเมินผลกลยุทธ์ (Strategic Evaluation)
ภาพแสดงการควบคุมกลยุทธ์ภาพแสดงการควบคุมกลยุทธ์ กำหนดมาตรฐาน ดำเนินการแก้ไข วัดผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบผลกับมาตรฐาน
ระดับกลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ระดับองค์การ (Corporate Strategy) 2. กลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจ (Business Unit Strategy) 3. กลยุทธ์ระดับฝ่ายปฏิบัติการตามหน้าที่ (Functional Strategy)
กลยุทธ์ระดับองค์กร (Corporate Strategy) • ถูกกำหนดโดยทีมผู้บริหารระดับสูงสุด • (คณะกรรมการอำนวยการ : Board of Directors) • เป็นการกำหนดแนวทางและทิศทางขององค์กร
กลยุทธ์ระดับองค์กรแบ่งออกเป็น 4 ชนิด : 1. กลยุทธ์การสร้างความเจริญเติบโตขององค์กร 2. กลยุทธ์การรักษาความมั่นคง 3. กลยุทธ์ตัดทอนการดำเนินงาน 4. กลยุทธ์แบบผสมผสาน
1. กลยุทธ์การสร้างความเจริญเติบโตขององค์กร 1.1 วิธีการสร้างความเจริญเติบโต ภายใน องค์กร ( ขยายผลิตภัณฑ์ ) • ตามแนวดิ่ง (Vertical Integration) • ตามแนวนอน (Horizontal Integration) 1.2 การสร้างความเจริญเติบโต ภายนอกองค์กร ( ลดการแข่งขัน ) • ควบกิจการ (Merger & Acquisition) • พันธมิตรทางธุรกิจ (Alliance)
2. กลยุทธ์การรักษาความมั่นคง • รักษาส่วนครองตลาดให้เท่าเดิม • ผู้บริหารมีทัศนคติไม่นิยมความเสี่ยง • ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย รักษาความมั่นคงได้ด้วยการลดแลกแจก/แถม เพื่อยอดขาย/รายได้ Pause Strategy Profit Strategy
2. กลยุทธ์การรักษาความมั่นคง • ใช้เมื่อ • ผู้บริหารพอใจกับการดำเนินงานในปัจจุบันแล้ว • มีสภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างคงที่ • คู่แข่งขันไม่มากนัก
3. กลยุทธ์ตัดทอนการดำเนินงาน 3.1 กลยุทธ์ฟื้นฟู (Turnaround Strategy) • ขั้นที่ 1 ลดขนาดและต้นทุน • ขั้นที่ 2 พัฒนาโครงการเพื่อสร้างความมั่งคง แก่บริษัทที่เล็กลง 3.2 กลยุทธ์เลิกดำเนินกิจการ (Selling Out) 3.3 กลยุทธ์ล้มละลาย (Bankruptcy)
3. กลยุทธ์ตัดทอนการดำเนินงาน • ใช้ในยามภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ • เพื่อให้องค์กรอยู่รอดต่อไปได้ • เพื่อรอจังหวะเวลาที่จะขาย หรือ เลิกกิจการ
4. กลยุทธ์แบบผสมผสาน • ใช้กลยุทธ์ตัดทอนการดำเนินงานในช่วงระยะสั้น • ใช้กลยุทธ์สร้างความเจริญเติบโตในบางด้านที่สามารถทำได้ • ใช้กลยุทธ์รักษาส่วนครองตลาดให้ได้เท่าเดิมทุกวิถีทาง • เหมาะกับธุรกิจที่ดำเนินการมานาน มีคู่แข่งขันเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ • ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ และมีความสามารถ
กลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจกลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจ เป็นกลยุทธ์ที่ผู้บริหารระดับรอง เป็นผู้กำหนด โดยนำเอากลยุทธ์ระดับองค์การมาเป็นแนวทาง เพื่อให้ หน่วยธุรกิจ (Strategic Business Unit) ประสบความสำเร็จ
กลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจกลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจ • กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุน • (Cost Leadership) • 2. กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างในมูลค่า • (Differentiation) = Brand Equity, Brand Loyalty • กลยุทธ์การมุ่งเน้นเฉพาะตัวผลิตภัณฑ์ • (Focus or Niche)
กลยุทธ์ระดับฝ่ายปฏิบัติการตามหน้าที่ (Functional Strategy) เป็นกลยุทธ์ในระดับฝ่าย หรือหน่วยต่างๆ ขององค์กร ที่จะต้องปฏิบัติตามหน้าที่เฉพาะของตน ให้สอดคล้อง กับหน่วยธุรกิจอื่น ๆ และองค์การ
กลยุทธ์ระดับฝ่ายปฏิบัติการตามหน้าที่กลยุทธ์ระดับฝ่ายปฏิบัติการตามหน้าที่ กลยุทธ์หน่วยธุรกิจ กลยุทธ์การตลาด กลยุทธ์การผลิต กลยุทธ์ทรัพยากรมนุษย์ กลยุทธ์การเงิน งบประมาณ
Operational Plans ลำดับขั้นของแผน Vision Mission ชั่วอายุขององค์กร, ไม่กำหนดเวลา Strategic Objective Strategic Plans ระยะ 5 ปี, แสดงถึงวัตถุประสงค์ ระยะยาวและแนวโน้มในภาพรวม ผู้บริหารระดับสูง Tactical Objectives Tactical Plans ระยะ 1 ปี,แสดงเป้าหมาย ที่ชัดเจนวัดได้ ผู้บริหารระดับกลาง Operational Objectives วัตถุประสงค์ระยะสั้น ที่สอดคล้องกับ ความต้องการขององค์กร (ไตรมาส, เดือน,สัปดาห์), แผนหน่วยย่อย ผู้บริหารระดับต้น
ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร (SWOT analysis) การกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์กร (Mission & Vision) การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร (Strategic Direction) การกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จและตัวชี้วัดหลัก (Key Success Factor & Key performance Indicator)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กรการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร (SWOT analysis) SWOT Analysis เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร S - Strength จุดแข็ง Internal Environment W - Weakness จุดอ่อน O - Opportunity โอกาส External Environment T - Threat ภัยคุกคาม • 7-S Model • Value Chain Analysis
Strategy Structure Shared values Staff System Style Skill McKinsey ’ s 7-S model
Support Activities Primary Activities Value Chain Analysis (Michael E. Porter) Firm Infrastructure โครงสร้างพื้นฐาน M Human Resource Management ทรัพยากรมนุษย์ A Technology Development การพัฒนาเทคโนโลยี R Procurement การจัดซื้อ G Inbound Outbound Marketing I Operations Service Logistic Logistic & Sales N
การกำหนดกลยุทธ์จาก SWOT analysis => TOWS Matrix Strengths Weakness WO SO Opportunities ST WT Threats
การกำหนดกลยุทธ์จาก SWOT analysis => TOWS Matrix INTERNAL FACTORS ( IFAS ) จุดแข็ง STRENGTHS - S จุดอ่อน WEAKNESSES - W EXTERNAL FACTORS ( EFAS ) โอกาส OPPORTUNITIES - O SO STRATEGIES WO STRATEGIES ใช้จุดแข็ง เกาะกุมโอกาส เอาชนะจุดอ่อน โดยอาศัยโอกาส WT STRATEGIES ภัยคุกคาม THREATS - T ST STRATEGIES ลดจุดอ่อนและ หลีกเลี่ยง อุปสรรค ใช้จุดแข็ง หลีกเลี่ยง อุปสรรค
การกำหนดกลยุทธ์จาก SWOT analysis => TOWS Matrix INTERNAL FACTORS ( IFAS ) จุดแข็ง STRENGTHS - S จุดอ่อน WEAKNESSES - W EXTERNAL FACTORS ( EFAS ) โอกาส OPPORTUNITIES - O SO STRATEGIES WO STRATEGIES กลยุทธ์เชิงรุก (Aggressive Strategies) กลยุทธ์พลิกฟื้น (Turn Around Strategies) WT STRATEGIES ภัยคุกคาม THREATS - T ST STRATEGIES กลยุทธ์การอยู่กับที่ (Stability Strategies) กลยุทธ์ตัดทอน (Retrenchment Strategies)
Vision Mission Goals &Objective &Target Operating plan Strategy
Where do we want to go? วิสัยทัศน์ (VISION) ภารกิจ (Mission) เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย Goal 1 Goal 3 Goal 2 Goal 4
ความเชื่อมโยงจากวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติMVOSA MODEL M ission = พันธกิจ V ision = วิสัยทัศน์ O bjective = วัตถุประสงค์ S trategy = กลยุทธ์ A ction plan = แผนปฏิบัติการ
ภารกิจMISSION • ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดภารกิจขององค์กร • 1. องค์กรอยู่ในธุรกิจอะไร • ความต้องการของลูกค้า • กลุ่มของลูกค้า • ความต้องการของลูกค้าได้รับการตอบสนองอย่างไร • 2. องค์กรต้องเปลี่ยนแปลงภารกิจเมื่อใด • 3. องค์กรจะมีการถ่ายทอดภารกิจอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
วิสัยทัศน์ VISION • วิสัยทัศน์ขององค์กร • ภาพหรือตำแหน่งในการแข่งขันขององค์กรใน 3-5 ปีข้างหน้า • จินตนาการเกี่ยวกับอนาคตขององค์กร • ความคิดเกี่ยวกับสภาวการณ์ในอนาคตของสภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ • ความปรารถนาหรือความทะเยอทะยานในอนาคต • สิ่งที่ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการดำเนินธุรกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร์ (strategic Issues) “ กลุ่มเรื่องใหญ่ ๆ ที่องค์กร หรือหน่วยงานเลือกที่จะกระทำ ในสถานการณ์ปัจจุบัน อาจมีเรื่องเดียว หรือหลายเรื่อง ” - เป็นการคัดลอก หรือ ถอดเอาถ้อยคำที่แฝงอยู่ในวิสัยทัศน์ พันธกิจ ระบุออกมาเป็นหัวข้อ หรือประเด็นเรื่องที่สำคัญ - ควรเชื่อมประโยคให้เป็นประโยคเดียว ให้สั้น กะทัดรัด มักจะเริ่มต้นด้วย “การ ..................” เพื่อบ่งบอกถึงภาระงาน ที่จะกระทำต่อไป เป็นต้น
วัตถุประสงค์ OBJECTIVE ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกับองค์กร มักแบ่งเป็น 4 ด้าน ตาม BALANCE SCORECARD 1. ด้านการเงิน 2. ด้านลูกค้า 3. ด้านกระบวนการภายใน 4. ด้านองค์กรและการเรียนรู้
การกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การการกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การ วัตถุประสงค์หลัก (Corporate Objectives) หรือ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic goals) เป็นเป้าหมายหลัก หรือผลลัพธ์ (End Results) ในระยะยาวที่องค์การต้องการซึ่งสัมพันธ์กับการอยู่รอด การสร้างมูลค่าขององค์การ และการเจริญเติบโตขององค์การ Peter F. Drucker เสนอว่า องค์การ ควรจะกำหนดวัตถุประสงค์หลักในหลาย ๆ เรื่องที่สำคัญ (Key results areas) เพื่อจะช่วยให้องค์การอยู่รอด และประสบความสำเร็จได้ในระยะยาว
เป้าหมาย (Goals) เป้าหมาย (Goals)หมายถึง สิ่งที่ต้องการในอนาคต ระดับของเป้าหมาย (Levels of Goals) เป้าหมายมี 3 ระดับ คือ 1. เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ (Strategic Goals)อาจเรียกว่า เป้าหมายระดับบริษัท (Corporate-levelGoals) หรือเป้าหมายที่เป็นทางการ (Official Goals) เป็นเป้าหมายที่กำหนดโดยผู้บริหารระดับสูงสุด 2. เป้าหมายเชิงกลยุทธวิธี (Tactical Goals)หรือเป้าหมายระดับหน่วยธุรกิจ (Business-level Goals) เป็นเป้าหมายเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ในอนาคตของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งตามหน้าที่ขององค์กรโดยผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง 3. เป้าหมายเชิงการปฏิบัติการ (Operational Goals)หรือเป้าหมายระดับหน้าที่ (Functional Level Goals) เป้าหมายที่ต้องการของแผนกหรือของแต่ละบุคคล เป้าหมายนี้กำหนดโดยผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับต้น
การวางแผนกลยุทธ์(Strategy Formulation หรือ Strategic Planning ) • กำหนดภารกิจขององค์การ (Corporate Mission) การกำหนดวัตถุประสงค์หลัก (Corporate Objectives) หรือ (Strategic Objectives) เพื่อให้ทราบทิศทาง และเป้าหมายที่องค์การต้องการ • การตรวจสอบและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในองค์การ (Situational Audit หรือ Swot Analysis) เพื่อให้ทราบสถานะต่าง ๆ ขององค์การ จึงสามารถลดความเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นจากสภาพการณ์ภายในองค์การเอง (Internal Risks) และทราบถึงสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การทำให้สามารถปรับตัวและรับมือกับเหตุการณ์และความเสี่ยงต่าง ๆ จากสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การได้ (External Risks) • การกำหนดกลยุทธ์หลักขององค์การ (Corporate Strategy) เพื่อให้มีแนวทางที่จะทำให้องค์การบรรลุถึงภารกิจและวัตถุประสงค์หลักขององค์การที่ตั้งไว้
Vision Mission Action Plan 1. A 2. B 3. C 4. D Strategic Issues 1 Objective 1 Goal 1 Strategy 1 Goal 2 Objective 1 2 Action Plan 5. A 6. B 7. C Strategic Issues 2 Strategy 2 Objective 1 2 Goal 3 Strategy 3 Action Plan 8. A 9. B 10. C Strategic Issues 3 Objective 1 2 3 Goal 4
วิสัยทัศน์ผู้นำ / นักบริหารเชิงรุก วิสัยทัศน์VISION ประสิทธิภาพEFFICENCY ประสิทธิผลEFFECTIVENESS มองกว้างคิดลึกเห็นไกลทันสมัยเฉียบแหลม วิถีทาง MEANS เป้าหมาย GOAL นโยบายPOLICY การจัดการMANAGEMENT
กลยุทธ์ในการดำเนินงาน( Operation Strategic) การกำหนดให้มีเป้าหมาย ภารกิจ และกิจกรรม หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กร ของทุกส่วนงาน และของทุกคนอย่างชัดเจน การกำหนดให้มีการวางแผนและควบคุมโดยมีการประสานงานที่สอดคล้องกัน การให้สมาชิกทุกระดับ มีส่วนในการกำหนดเป้าหมายและแผนงาน การใช้เป้าหมายเป็นเครื่องมือควบคุม ประเมิน และวัดผลการปฏิบัติงานขององค์กร งาน และ ตัวบุคคล พยายามใช้การวัดผลเป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร
กระบวนการดำเนินงาน 4. วัดและประเมินค่าโดยเน้นที่วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 3. ตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงงาน อย่างมีระบบ 2. มอบหมายอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ • กำหนดวัตถุประสงค์ • และวางแผนร่วมกัน
กระบวนการดำเนินงาน ขั้นที่ 1 การกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหลักขององค์กร และเป้าหมายของส่วนงานลดหลั่นไปตามสายบังคับบัญชา ให้ผู้บังคับบัญชาและลูกน้องร่วมกันพิจารณาวางโครงการ แผนการปฏิบัติงาน เรียงลำดับความสำคัญของงาน รวมทั้งกำหนดทรัพยากร เวลา และมาตรฐานในการปฏิบัติ เป้าหมาย ต้องเป็นลายลักษณ์อักษร เกี่ยวกับผลงานที่ต้องกระทำ มาตรฐานในการปฏิบัติ กำหนดเกณฑ์กลางเพื่อใช้วัดผลงาน ขั้นที่ 2 การมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้อิสระเต็มที่ในการปฏิบัติงาน ตลอดจนพร้อมให้คำปรึกษาแนะนำ ขั้นที่ 3 การตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงงานอย่างมีระบบ ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบ ทบทวน ไม่ใช่จับผิด ขั้นที่ 4 วัดและประเมินค่าโดยเน้นที่วัตถุประสงค์และเป้าหมาย มีผู้ประเมิน ผู้ถูกประเมิน มุ่งพัฒนาศักยภาพ เน้นความสำเร็จ ใช้เป้าหมายและผลงานเป็นตัวประเมิน
กระบวนการดำเนินงาน สร้างเป้าหมายใหม่ ถ้าเป้าหมายได้รับผลสำเร็จแล้ว ผู้บริหารหรือผู้แทนและพนักงานตกลงร่วมกันและกำหนดเป้าหมายเฉพาะ กำหนดลำดับขั้นเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ยอมรับร่วมกัน ทบทวนความก้าวหน้าครั้งสุดท้าย เมื่อสิ้นสุดระยะเวลา มีการจัดการเพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย มีการประเมินผลเป็นระยะๆ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าตามเป้าหมาย เพิ่มขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้เป้าหมายเดิมสำเร็จ มีการวางแผน รู้จักการนำไปใช้ หรือมีการเลือกปรับเป้าหมาย ถ้าเป้าหมายไม่สำเร็จ
ประเภทของการตัดสินใจ 1.Technical or Operation Decision 2. Administration Decision 3. Strategic Decision องค์ประกอบของกระบวนการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ 1. Analysis – Rational Decision Making 2. Intuitive – Emotional Decision Making 3. Political – Behavior Decision Making
ลักษณะของการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ลักษณะของการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ • เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับทิศทางขององค์การในระยะยาว • เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวกับขอบเขตในการดำเนินธุรกิจ • เป็นความพยายามที่จะบรรลุถึงความได้เปรียบทางการแข่งขัน • เป็นการตัดสินใจที่ต้องสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม • เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรที่มีในองค์การ • เป็นการตัดสินใจโดยพิจารณาถึงสภาวะแวดล้อมภายในขององค์การ • มีผลกระทบต่อการตัดสินใจในการปฏิบัติงานทั่วทั้งองค์การ • เกี่ยวข้องกับค่านิยม ความคาดหวัง และผู้ที่เกี่ยวข้องใน องค์การ
Decision making by Brain Storming กติกาในการทำ Brainstorming 1. ห้ามวิจารณ์ข้อคิดใดๆ ที่สมาชิกของกลุ่มเสนอแนะ 2. หา Idea แปลกๆ ใหม่ๆ เปิดโอกาสให้เสนอข้อคิดเห็นอย่างอิสระ 3. สิ่งสำคัญที่สุด คือ จำนวนของข้อคิดที่เกิดขึ้นต้องให้ได้มากที่สุด โดยยังไม่พิจารณาคุณภาพของข้อคิด 4. มุ่งหาข้อคิดที่มีการเสนอแล้ว หรือ ผูกโยงข้อคิด 2 อย่าง หรือมากกว่าให้เป็นข้อคิดใหญ่
ข้อเสนอแนะในการตัดสินใจข้อเสนอแนะในการตัดสินใจ 1. เรื่องเล็ก ๆ มีแผนอยู่แล้ว ไม่ต้องใช้เวลามาก ตัดสินใจตามกฎระเบียบ ที่มีอยู่แล้ว 2. ถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญก่อนตัดสินใจ 3. อย่าตัดสินภายใต้ภาวะวิกฤตเพียงลำพัง
การควบคุมและประเมินผลเชิงกลยุทธ์การควบคุมและประเมินผลเชิงกลยุทธ์ ภารกิจและวัตถุ ประสงค์หลักของ องค์การ สภาพแวดล้อม ทั่วไป การควบคุม เชิงกลยุทธ์ สภาพแวดล้อม ของโลกาภิวัฒน์ การกำหนดกลยุทธ์ ขององค์การ สภาพแวดล้อม ของอุตสาหกรรม การนำแผนกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ
ขั้นตอนของการควบคุมและประเมินผลขั้นตอนของการควบคุมและประเมินผล • ต้องกำหนดภาระงาน หรือหัวข้อ หรือเรื่องที่ต้องการจะควบคุมและประเมินผลให้ได้ชัดเจน รวมทั้งกำหนดมาตรฐานหรือเครื่องมือที่จะใช้ในการควบคุมให้ชัดเจน • สร้างระบบและกลไกในการวัดผลและตรวจสอบให้เหมาะสม • ดำเนินการวัดผลงานที่เกิดขึ้นตามแนวทางที่ได้ออกแบบไว้แล้วนั้น • วิเคราะห์ผลที่ได้จากข้อ 3 โดยนำไปเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ แผนงาน งบประมาณที่ตั้งไว้ หรือมาตรฐานอื่น ๆ ตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อที่ 1 • ดำเนินการแก้ไขตามความเหมาะสม โดยพยายามเน้นการแก้ไขส่วนเชิงสร้างสรรค์
แนวคิดสมัยใหม่ในการควบคุมการประเมินผลเชิงกลยุทธ์แนวคิดสมัยใหม่ในการควบคุมการประเมินผลเชิงกลยุทธ์ การวัดผลโดยใช้แนวคิดการวัดอย่างสมดุล Balanced Scorecard Balanced Scorecard เป็นแนวคิดของ Robert S. Kaplan และ David P. Norton ได้เสนอแนวคิดในการวัดผลงานของกิจการที่จะทำให้ผู้บริหารระดับสูงเห็นภาพรวมของธุรกิจได้ชัดเจนขึ้น ให้ได้ภาพรวมขององค์การอย่างครอบคลุม และอย่างสัมพันธ์กัน และสมดุลขึ้น โดยนอกจากการวัดทางการเงินที่เป็นผลของการดำเนินงานที่เกิดขึ้นมาแล้ว ควรต้องมีการวัดผลด้านกระบวนการบริหารงาน การสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้า ตลอดจนการสร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ให้แก่องค์การเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างอนาคตในองค์การด้วย
แนวคิดสมัยใหม่ในการควบคุมเชิงกลยุทธ์แนวคิดสมัยใหม่ในการควบคุมเชิงกลยุทธ์ องค์ประกอบในการวัดผลตามแนวคิด Balanced Scorecard โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ 1. ทางด้านการเงิน 2. ทางด้านมุมมองของลูกค้า หรือความพอใจของลูกค้า 3. ทางด้านกระบวนการบริหารภายใน 4. ทางด้านการมุ่งสร้างการเรียนรู้ นวัตกรรม และเจริญเติบโตให้เกิดขึ้นแก่องค์การ
พิจารณาเพื่อผลประโยชน์พิจารณาเพื่อผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้น มุมมองทางการเงิน เพื่อลูกค้า มุมมองของลูกค้า เพื่อผู้บริหารและพนักงาน มุมมองด้านกระบวนการ บริหารภายในองค์การ เพื่ออนาคตขององค์การ มุมมองในเรื่องการเรียนรู้ และนวัตกรรมขององค์การ แสดงการเชื่อมโยงจากภารกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ ขององค์การเข้ากับมาตรการวัดที่เหมาะสมและแผนริเริ่มต่าง ๆ วิสัยทัศน์ ภารกิจ และ วัตถุประสงค์ขององค์การ การวิเคราะห์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และกลยุทธ์ที่สำคัญ การออกแบบ เครื่องชี้วัดที่สำคัญ โครงการริเริ่ม
ถาม - ตอบ การทำงานให้ประสบความสำเร็จ ....จึงมิใช่การจำกัดอยู่แต่มิติของงานเท่านั้น แต่จะหมายรวมถึงมิติต่างๆ ทั้งหมดที่มีความสัมพันธ์กับท่านในฐานะที่เป็นเพื่อน ลูกน้อง เจ้านาย ฯลฯ ดังนั้นจึงควรเป็นผู้..... “รู้จักตน รู้จักคน รู้จักงาน และ คอยสำรวจตน ค้นผู้อื่น ตื่นอยู่เสมอ ไม่เผลอใจ” แล้วท่านจะ “ประสบความสุขความสำเร็จในการทำงาน” ท่านพุทธทาส อินทปัญโญ