160 likes | 718 Views
แนวทางการดำเนินงาน กลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558. เป้าประสงค์ หลัก : วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กาย ใจ เป็น สุข. ปัญหาของกลุ่มวัยทำงาน. กลุ่มโรค NCDs : DM , HT , Stroke , MI , Asthma/COPD ,มะเร็ง อุบัติเหตุทางถนน โรคจากการประกอบอาชีพ.
E N D
แนวทางการดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558
เป้าประสงค์หลัก :วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กาย ใจ เป็นสุข ปัญหาของกลุ่มวัยทำงาน • กลุ่มโรค NCDs: DM,HT,Stroke,MI ,Asthma/COPD,มะเร็ง • อุบัติเหตุทางถนน • โรคจากการประกอบอาชีพ
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อุบัติเหตุทางถนน ปีพ.ศ.2551 – 2556 (ทุกกลุ่มอายุ) จังหวัดเลย 3 5 2 1 4 ที่มา : สนย. ในช่วง ปี 2556 อัตราตายด้วยโรค NCD ที่สำคัญและอุบัติเหตุทางถนน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
กรอบแนวคิดการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558 ผลลัพธ์: ลดป่วย ลดตาย จากโรคNCDs โรคจากการประกอบอาชีพ ลดบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน • Population Approach • Individual Approach • 1.ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ • /Healthy Workplace • 2 บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ • 3. พัฒนาการดำเนินงานด้านอุบัติเหตุจราจร - สอบสวนอุบัติเหตุ - บูรณาการทุกหน่วยงานในระดับอำเภอ ตำบล • 1.พัฒนาคลินิก • -NCD / DPAC/CKDคุณภาพ • -Asthma/COPD • - อดเหล้า/ บุหรี่ 2.พัฒนาการจัดการความเสี่ยง CVD 1.มาตรการ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยง ในประชากร 2. มาตรการ พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค • มาตรการสนับสนุน กรม กองต่างๆ/สสจ. /คปสอ.
กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของอำเภอกำหนดเป็นนโยบายสำคัญของอำเภอ • ขับเคลื่อนการดำเนินงานโดย DHS • บริหารจัดการเชิงระบบโดย System Manager ระดับอำเภอ และ Case & Care Manager ระดับอำเภอ/ตำบล • มีทีมบุคลากร/เครือข่ายการดำเนินงานทุกระดับทั้งในและนอกหน่วยงานสาธารณสุข • มีการขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสาธารณะ • ส่งเสริมการใช้มาตรการทางกฎหมาย / มาตรการทางสังคม • พัฒนาระบบข้อมูลและรายงาน • ระบบควบคุม ติดตามที่มีประสิทธิภาพ • กระบวนการขับเคลื่อน • ด้านการบริหารจัดการ • ด้านวิชาการ • พัฒนา/ทบทวนคู่มือและแนวทางในการดำเนินงาน • พัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ • พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดำเนินงาน • พัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่าย • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ด้านข้อมูล • ด้านวัสดุ อุปกรณ์ และทรัพยากรในการดำเนินงาน • การติดตาม กำกับการดำเนินงาน • ด้านการสนับสนุน
แนวทางการดำเนินงาน NCD ปี 2558 Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention Micro Vascular Complication • HbA1C < 7 % • LDL-Cho<100 mg% • BP 140/90mmHg • Micro albumin • Eye exam • Foot exam ความเสี่ยงต่อหลอดเลือด Kidney Disease PP CKD Clinic • CAPD • HD • KT คัดกรอง 1.ชะลอการเสื่อมของไต 2.ประเมินและรักษา 3.ลดความเสี่ยง CVD 4.เตรียมผู้ป่วย RRT Retinopathy กลุ่มเสี่ยง Pre-DM Pre-HT Macro Vascular Complication คัดกรองปัจจัยเสี่ยง DM, HT, DM/HT Stroke Stroke Alert ชุมชน, EMS, IP, OP/ER Stroke Fast Track Macro Vascular Complication การลงทะเบียน Heart -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ -หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ Heart ACS Alert การรักษาด้วยยา Acute STEMI ชุมชน, EMS, IP, OP/ER การสนับสนุนการจัดการตนเอง ST Elevated EKG ลดความรุนแรงโดยใช้ปิงปองจราจร 7 สี
Primary Prevention สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยงสูง 1. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย/ จัดทำทะเบียน 2.สื่อสารความเสี่ยง (3 อ.2 ส.) 3. คัดกรอง DM-HT 4. แยกกลุ่มคัดกรอง เป็น กลุ่มปกติ เสี่ยง (เสี่ยง เสี่ยงสูง สงสัยป่วย)ป่วย 5.DPAC,องค์กรต้นแบบไร้พุง ,หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ 6. ลดความรุนแรงโดยใช้ปิงปองจราจร 7 สี 7.บันทึกข้อมูลในHOSxPตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก DM-HT
Secondary Prevention ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน 1. รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วย DM/HT 2. จัดบริการการรักษาอย่างครบวงจร โดยทีมสหสาขา 3. การรักษาโดย Drug /Non Drug 4. ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ช่องปาก/ ตรวจ LAB ขั้นต่ำ 5. ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด CVD Risk ,Mapping กลุ่มเสี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 6. ลดความรุนแรงโดยใช้ปิงปอง 7 สี 7. คลินิก DPAC ,จัดกิจกรรมให้แก่ผู้ป่วย/ญาติ Care giver 8. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วย 9. ติดตามเยี่ยมดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 10.บันทึกข้อมูลในHOSxPตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก • DM-HT • เป้าหมายการรักษา • HbA1C < 7 % • LDL-Cho • <100 mg% • 3. BP 140/90 • mmHg
Tertiary Prevention ลดความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ มีคุณภาพชีวิตที่ดี 1. รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วย CKD 2. จัดบริการการรักษา และประเมินผลการรักษา 3. จัดกิจกรรมให้แก่ผู้ป่วย/ญาติ Care giver 4. จัดตั้งชมรมรักษ์ไต รักษ์สุขภาพ 6. ส่งต่อผู้ป่วย Stage 4-5 พบอายุรแพทย์โรคไตที่รพ.เลย 7. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน 6. บันทึกข้อมูลใน HOSxPตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก CKD Clinic 1.ชะลอการเสื่อมของไต 2.ประเมินและรักษา 3.ลดความเสี่ยง CVD 4.เตรียมผู้ป่วย RRT • CAPD • HD • KT 1. สื่อสารความเสี่ยง สัญญาณเตือนภัย Stroke/STEMI 2. Mapping กลุ่มเสี่ยง 3. พัฒนา EMS /ER/IP/OP 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน 3. บันทึกข้อมูลใน HOSxPตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก Stroke / STEMI Fast Track
การพัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรคการพัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค ประเมินตามเกณฑ์ 6 องค์ประกอบหลัก คลินิก DPACคุณภาพ/องค์กรต้นแบบไร้พุง คลินิก CKD คุณภาพ คลินิก NCD คุณภาพ ประเมินตามเกณฑ์การประเมิน - ประเมินตนเอง - ประเมินโดยทีมจังหวัด ประมาณ ม.ค.58 - ประเมินโดยทีมเขต
โรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Asthma/COPD) คัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วย Verbal Screening และBronchodilator test (ใช้ Peak Flow) 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3. จัดบริการคลินิกตามมาตรฐาน ด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพ 4. พัฒนาการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล 5. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
แนวทางการดำเนินงานมะเร็งปากมดลูกแนวทางการดำเนินงานมะเร็งปากมดลูก • สำรวจสตรีกลุ่มเป้าหมาย คัดกรองในสตรีที่อายุ 30,35,40,45,50,55,60 ปี (สตรีที่เกิด พ.ศ.2498, 2503, 2508, 2513, 2518, 2523, 2528) โดยใช้ ข้อมูลจาก HOSxPแฟ้ม • ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ • ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี Pap Smear พร้อมแจ้งผลทุกราย • ติดตามสตรีที่ตรวจพบผลผิดปกติ ให้ได้รับการดูแล/รักษา/ส่งต่อ ที่ถูกต้อง รวดเร็ว • ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง • บันทึกข้อมูลลงใน HOSxPและส่งออกไปยังโปรแกรม CxS2010 (Cervix Screening 2010)
แนวทางการดำเนินงานมะเร็งเต้านมแนวทางการดำเนินงานมะเร็งเต้านม • สำรวจสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30–70 ปี ในเขตรับผิดชอบ • ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ • ให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุครบ 30 ปี ในปี 2558 • ประเมินทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ของสตรีกลุ่มเป้าหมายเก่าและให้ความรู้เพิ่มเติมในรายที่ประเมินฯ แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ • จัดบริการตรวจเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย • จัดบริการเพื่อวินิจฉัย/ดูแลรักษา/ส่งต่อ/ติดตาม สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติของ • เต้านม • ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง • บันทึกข้อมูลลงใน HOSxP
สถานที่ทำงาน / สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข • สื่อสารความเสี่ยง (3อ 2ส + 3ม 2ข 1ร) • เฝ้าระวังพฤติกรรมความปลอดภัย • มีการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัยในที่ทำงาน • เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ โรคและการบาดเจ็บ
แนวทางการดำเนินงาน ตำบลจัดการสุขภาพ • อสม. • แผนสุขภาพตำบล กิจกรรมสุขภาพ • การมีส่วนร่วมของ อปท. แผนงาน/ กิจกรรม เป้าหมายลดNCD ,อุบัติเหตุ และอื่นๆ สื่อสารด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อปรับพฤติกรรม -3อ 2ส -3ม 2ข 1ร ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม -เอื้อสุขภาพดี -ลดจุดเสี่ยงอันตราย กำหนดมาตรการสังคม/ข้อตกลงร่วม เฝ้าระวัง/ คัดกรอง
แนวทางการดำเนินงาน อุบัติเหตุทางถนน • ส : สุดเสี่ยง • ระบุปัจจัยเสี่ยง/จุดเสี่ยงใน พท. • - กลุ่มเป้าหมายเสี่ยง • 3 ม 2 ข 1 ร (หมวก/เมา/มอเตอร์ไซด์/เข็มขัด/ขับขี่เร็ว) • ทางแยก/ทางร่วม/ทางตรง ฯลฯ • ส : สารสนเทศ • ข้อมูลภาพรวมระบบเฝ้าระวัง • -ข้อมูลสอบสวนเชิงลึก • เหตุการณ์สำคัญตามเกณฑ์ • การสอบสวนอุบัติเหตุตามเกณฑ์ของสำนักระบาดวิทยา • เกณฑ์ข้อ 1 คือ ตาย ≥ 5 ราย • เกณฑ์ข้อ 2 คือ บาดเจ็บ ≥ 15 ราย • เกณฑ์ข้อ 3 คือ เหตุการณ์ที่น่าสนใจ DHS ตำบลจัดการสุขภาพ • ส : สหสาขา เลือกมาตรการแก้ปัญหาที่ • ส : สุดคุ้ม และให้ชุมชนมี ส : ส่วนร่วม • บังคับใช้กฏหมาย • มาตรการชุมชน/องค์กร • แก้ไขจุดเสี่ยง • พัฒนาบริการการรักษา ER/EMS • ประเมินผล • เก็บข้อมูลเฝ้าระวังการบาดเจ็บ Injury Surveillance (รพท.) • รายงานการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ (รพช.ทุกแห่ง)