640 likes | 784 Views
Results of the 2005-2006 Survey of Population Change (SPC). สรุปผล สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548-2549. โดย นางปัทมา อมรสิริสมบูรณ์.
E N D
Results of the 2005-2006 Survey of Population Change (SPC) สรุปผลสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548-2549 โดย นางปัทมา อมรสิริสมบูรณ์ การสัมนา สสช.เชิงรุก ตอน “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรไทยในรอบ 10 ปี” 5 เมษายน 2550 ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรมสยามซิตี้ สำนักงานสถิติแห่งชาติ National Statistical Office
ความเป็นมา การสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากรได้จัดทำประจำทุก 10 ปี ในช่วงกึ่งกลางระหว่างปีที่มีการจัดทำสำมะโนประชากรและเคหะ
ครั้งที่ 1 จัดทำระหว่าง พ.ศ.2507-2509 เพื่อวัด อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มสำหรับ ใช้กำหนดนโยบายประชากรของประเทศ ครั้งที่ 2 ได้จัดทำระหว่าง พ.ศ. 2517-2519 ครั้งที่ 3 จัดทำระหว่าง พ.ศ. 2527-2529 เพื่อทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับการเกิด การตาย และการ เพิ่มของประชากร
ครั้งที่ 4 จัดทำ พ.ศ. 2532 ครั้งที่ 5 จัดทำ พ.ศ. 2534 ครั้งที่ 6 จัดทำ พ.ศ. 2538-2539 ครั้งที่ 7 จัดทำ พ.ศ. 2548-2549 เพื่อประเมินแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 6
1. เพื่อหาระดับอัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่มของ ประชากร และอัตราเจริญพันธุ์ต่างๆ 2. เพื่อทราบข้อมูลที่สำคัญทางประชากรด้านภาวะเจริญพันธุ์ ภาวะการตาย การวางแผนครอบครัวและอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ 3. เพื่อทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะและ โครงสร้างของประชากร เช่น จำนวนประชากร ตามหมวดอายุและเพศ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ เป็นต้น
4. เพื่อใช้ประเมินอัตราเพิ่มของประชากรในช่วงปลายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) และใช้ในการปรับปรุงการคาดประมาณประชากรครั้งต่อไป 5. เพื่อทราบลักษณะและแนวโน้มของประชากรในปี ระหว่างสำมะโน (Intercensal period)
การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ Eศึกษาลักษณะโครงสร้างและแนวโน้มของ ประชากรเพื่อวางแผนกำหนดนโยบาย ทิศทางในการพัฒนา ประเทศ Eใช้ในการประเมินอัตราเพิ่มของประชากร ในช่วงปลายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ
การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ Eใช้ในการปรับปรุงการคาดประมาณประชากร ของประเทศ Eใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ วิจัยในประเด็น ต่างๆตามความสนใจของผู้ใช้ข้อมูล
ขอบข่ายและคุ้มรวม - เป็นการสำรวจด้วยวิธีตัวอย่างทุกจังหวัดทั้งใน เขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จำนวนชุมรุม อาคารหรือหมู่บ้านตัวอย่างทั้งสิ้น 2,050 เขต - ครัวเรือนส่วนบุคคลตัวอย่าง 82,000 ครัวเรือน
แผนการเลือกตัวอย่าง แบบ Stratified Two- Stage Sampling * ขั้นที่ 1 เลือกชุมรุมอาคาร/หมู่บ้าน * ขั้นที่ 2 ครัวเรือนส่วนบุคคล
เปรียบเทียบแผนการเลือกตัวอย่างเปรียบเทียบแผนการเลือกตัวอย่าง พ.ศ. 2548-2549 = 2,050 ชุมรุมอาคาร/หมู่บ้านตัวอย่าง พ.ศ. 2538-2539 = 600 ชุมรุมอาคาร/หมู่บ้านตัวอย่าง
ครัวเรือนที่อยู่ในข่ายของการสำรวจครัวเรือนที่อยู่ในข่ายของการสำรวจ - ครัวเรือนส่วนบุคคล - ครัวเรือนพิเศษ
- การเลือกตัวอย่างเฉพาะครัวเรือนส่วนบุคคล โดยเลือก 40 ครัวเรือนในแต่ละชุมรุมอาคาร/ หมู่บ้านตัวอย่าง ส่วนครัวเรือนพิเศษไม่มีการ เลือกตัวอย่าง แต่ให้สัมภาษณ์ครัวเรือนพิเศษ ทุกครัวเรือน
การเลือกตัวอย่าง กลุ่มที่ 1 เป็นครัวเรือนที่มีทารกอายุต่ำกว่า1 ปี หรือมีสมาชิกอายุ 80 ปีขึ้นไปหรือสมาชิกที่มีหญิงตั้งครรภ์
การเลือกตัวอย่าง กลุ่มที่ 2 คือครัวเรือนส่วนบุคคล ที่มีสมาชิกอายุ 1-5 ปี หรือมีสมาชิกอายุ 60-79 ปี กลุ่มที่ 3 คือครัวเรือนส่วนบุคคลที่มีสมาชิกอายุ 6-59 ปี หรือครัวเรือนส่วนบุคคลที่นับจดไม่ได้หรือบ้านว่าง
การเลือกครัวเรือนส่วนบุคคลตัวอย่างเจาะจงเลือกตัวอย่าง กลุ่มที่ 1 เนื่องจากการสำรวจนี้มุ่งเน้นเพื่อให้ได้ตัวอย่าง จำนวนการเกิด การตายที่มากพอ จึงให้เลือกกลุ่มที่ 1 ให้ได้มากที่สุดก่อนจึงเลือกกลุ่มที่ 2 และ 3 เพื่อให้ได้ตัวอย่างครบ 40 ครัวเรือนในแต่ละชุมรุมอาคาร/หมู่บ้านตัวอย่าง
การสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากรการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548-2549 เก็บรวบรวบข้อมูลทั้งหมด 5 รอบ แต่ละรอบ ห่างกัน 3 เดือน การสำรวจรอบที่ 1 เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลประชากรฐาน ส่วน รอบ 2-5 เป็นการเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเรื่องการเกิด การตายของประชากรในครัวเรือนที่ได้จากรอบที่ 1
กทม. ภูมิภาค 10-24 ก.ค. 48 รอบที่ 1: รอบที่ 2 : 1 ก.ค.-31 ส.ค. 48 10-24 ต.ค. 48 1 ต.ค.-20 พ.ย. 48 รอบที่ 3 : 10-24 ม.ค. 49 1 ม.ค.-20 ก.พ. 49 รอบที่ 4 : 10-24 เม.ย.49 1 เม.ย.-20 พ.ค.49 รอบที่ 5 : 10-24 ก.ค. 49 1 ก.ค.-20 ส.ค. 49 คาบงาน การเก็บรวบรวม ข้อมูล
รายการข้อมูลที่เก็บรวบรวม ตอนที่ 1 ลักษณะทั่วไป ได้แก่ การมีชื่อในทะเบียน บ้าน ลักษณะการอยู่อาศัย การศึกษา ชั้นสูงสุดที่เรียนจบ การอ่านออกเขียนได้ อาชีพหลัก อุตสาหกรรม รายได้ บุตรเกิดรอด การคุมกำเนิด การตั้งครรภ์ การย้ายเข้าและการย้ายออก
ตอนที่ 2 การเกิด ได้แก่ การอยู่อาศัยของเด็กเกิดใหม่ สถานที่เกิด การแจ้งเกิด และการมีชื่อใน ทะเบียนบ้านของบิดา – มารดา เด็กเกิดใหม่ ตอนที่ 3 การตาย ได้แก่ การมีชื่อในทะเบียนบ้าน ของผู้ตาย วัน เดือน ปีที่ตาย สถานที่ตาย สาเหตุการตาย การแจ้งตาย และเลขที่ มรณบัตร
ตอนที่ 4 ลักษณะของที่อยู่อาศัย ได้แก่ วัสดุที่ใช้ใน การก่อสร้าง สถานภาพการครอบครองที่ อยู่อาศัย จำนวนห้องนอน ไฟฟ้าภายใน ที่อยู่อาศัย เชื้อเพลิงที่ใช้ในการประกอบ อาหาร การใช้ส้วม น้ำดื่ม น้ำใช้ วิธีกำจัดขยะภายในครัวเรือน และการเป็น เจ้าของสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ
1. โครงสร้างทางประชากร
เปรียบเทียบประชากร ปี 2523, 2533,2543 และ 2548 75+ 70-74 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 75+ 70-74 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 ชาย หญิง หญิง ชาย 0 7 7 0 1 6 1 6 2 5 5 2 4 4 3 3 3 4 3 4 2 5 5 2 7 7 0 0 6 6 1 1 พ.ศ. 2523 พ.ศ. 2533
เปรียบเทียบประชากร ปี 2523, 2533,2543 และ 2548 75+ 70-74 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 75+ 70-74 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 ชาย หญิง ชาย หญิง 0 0 7 7 1 6 1 6 2 5 5 2 3 4 4 3 4 3 3 4 2 5 5 2 0 7 0 7 1 6 1 6 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2548
2. อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ
แผนภูมิ อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ อัตราต่อประชากร 1,000 คน 42.2 อัตราเกิด 35.6 23.9 อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ 17.9 10.9 10.8 8.6 6.8 6.0 6.4 อัตราตาย ปี
ตาราง อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ พ.ศ. 2548-2549
แผนภูมิอัตราเกิด อัตราตายของประชากร และอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ จำแนกตามภาค พ.ศ.2548-49 ร้อยละ ภาค ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคเหนือ กรุงเทพ-มหานคร ในเขต นอกเขต ทั่วราช ภาคตะวันออก เทศบาล อาณาจักร เทศบาล อัตราตาย อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ เฉียงเหนือ อัตราเกิด
3. อัตราส่วนระหว่างเพศ เมื่อแรกเกิด
ตาราง อัตราส่วนระหว่างเพศเมื่อแรกเกิดของประเทศไทย จากสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548-49, พ.ศ. 2538-39,พ.ศ. 2517-19 และพ.ศ. 2507-08
ในเขต นอกเขต ทั่วราช ภาคตะวันออก เทศบาล อาณาจักร เทศบาล เฉียงเหนือ แผนภูมิอัตราเจริญพันธุ์ทั้งมวล จำแนกตามเขตการปกครองและภาค จากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร พ.ศ. 2548-49 ร้อยละ ภาค ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ กรุงเทพ-มหานคร
ตาราง เปรียบเทียบอัตราเกิดและอัตราเจริญพันธุ์ทั้งมวลระหว่าง ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ
5. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด เป็นเครื่องชี้วัดความยืนยาวของชีวิตของประชากรในขณะที่ ระดับการตายที่ลดลงจะสะท้อนให้เห็นว่าอายุคาดเฉลี่ยของประชากรสูงขึ้น โดยเฉพาะระดับการตายในกลุ่มเด็ก จากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548-2549 เมื่อคำนวณ อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดจากอัตราตายตามหมวดอายุ โดยการสร้างตารางชีพ (Life Tableของ ELT)[1] แสดงให้เห็นว่าอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดทั้งผู้หญิงและผู้ชายสูงขึ้นจากผลการสำรวจที่ผ่านมาแสดงว่าผู้หญิงมีอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย 2/ 2/ Arriage Eduardo, Patricia Anderson, Larry Heligman. Computer Programs for Demographic Analysis, U.S. Department of Commerce BUREAU OF THE CENSUS.
อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี ปี 2507-2509 2517-2519 2527-2529 2532 2534 2538-2539 2548-2549 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (e0 ) 14.0 16.8 58.6 53.6 16.1 18.9 63.8 58.0 68.9 63.8 18.6 15.5 19.9 65.6 16.6 70.9 67.7 72.4 21.9 18.8 23.9 69.9 74.9 20.3 21.7 69.9 19.3 77.6 หญิง ชาย
แผนภูมิ เปรียบเทียบอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด อัตรา ชาย หญิง พ.ศ. 2538-39 2517-18 2528-29 2532 2534 2548-49
ตาราง อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด อัตราตายและอัตราตายของทารก
ประมาณการเกิด ในช่วงการสำรวจตั้งแต่เดือนก.ค. 2548-ก.ค. 2549 ประมาณการเกิดมีจำนวน 7.05 แสนคน เป็นเด็กชาย 3.64 แสนคน เด็กหญิง 3.41 แสนคน อัตราเกิด 10.85 ต่อประชากรพันคน ในเขตเทศบาล 9.11 ต่อประชากรพันคน นอกเขตเทศบาล 11.59 ต่อประชากรพันคน
ทั่วราช ภาคตะวันออก อาณาจักร เฉียงเหนือ แผนภูมิอัตราเกิด จำแนกตามภาค จากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548-2549 ร้อยละ ภาค ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคเหนือ กรุงเทพ-มหานคร
แผนภูมิ เปรียบเทียบสถานที่เกิด จากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร ระหว่างปี พ.ศ. 2548-2549 และ พ.ศ. 2538-2539 2548-2549 2538-2539
แผนภูมิ สถานที่เกิดจากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากรพ.ศ. 2548-2549 สถานีอนามัย/ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือศูนย์สุขภาพชุมชน ศูนย์อนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลของรัฐ โรงพยาบาลเอกชน บ้าน บนรถ/เรือ ไม่ทราบ
แผนภูมิ สถานที่เกิดจากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากรพ.ศ. 2548-2549 ศูนย์อนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลของรัฐ โรงพยาบาลเอกชน บ้าน บนรถ/เรือ ไม่ทราบ สถานีอนามัย/ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือศูนย์สุขภาพชุมชน ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล
แผนภูมิ การเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุของมารดา อัตรา กลุ่มอายุ 10-14 ปี 15-19 ปี 20-34 ปี 35-49 ปี 50-60 ปี
ประมาณการตาย ประมาณจำนวนคนตายมีจำนวน 4.40 แสนคน vเป็นชาย 2.43 แสนคน vเป็นหญิง 1.97 แสนคน v อัตราตาย 6.67 ต่อประชากรพันคน vในเขตเทศบาล 5.09 ต่อประชากรพันคน vนอกเขตเทศบาล 7.48 ต่อประชากรพันคน