210 likes | 449 Views
โครงการศึกษาพัฒนาคุณภาพรายงานสาเหตุการตายโดย การสัมภาษณ์ในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550. ภายใต้โครงการศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายต่อภาระโรค :โครงการความร่วมมือระหว่าง กระทรวงสาธารณสุขไทย กับ มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย. ปัญหาความถูกต้องของสาเหตุการตาย.
E N D
โครงการศึกษาพัฒนาคุณภาพรายงานสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ในประเทศไทยพ.ศ. 2548-2550 ภายใต้โครงการศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายต่อภาระโรค :โครงการความร่วมมือระหว่าง กระทรวงสาธารณสุขไทย กับ มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย
ปัญหาความถูกต้องของสาเหตุการตายปัญหาความถูกต้องของสาเหตุการตาย • ร้อยละ 30-40 ของการตายเป็นรายงานที่สาเหตุไม่ชัดแจ้งหรือไม่ทราบสาเหตุ • สาเหตุการตายของผู้สูงอายุในชนบทที่ตายที่บ้านมักระบุว่าตายโดยชราภาพ • พบบ่อยที่มักระบุรูปแบบการตายมากกว่าสาเหตุการตายนำ
ปัญหาดังกล่าว ทำให้เกิดความจำกัดในการใช้ข้อมูลสาเหตุการตายในการวางแผนงานสาธารณสุข • องค์การอนามัยโลกจึงแสวงหาทางเลือกที่สามารถเพิ่มความถูกต้องของสาเหตุการตายดังกล่าว • และพบว่าการสอบสวนสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์หรือ Verbal Autopsy (VA) เป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าจะนำมาใช้ได้
Verbal Autopsy คืออะไร ? • คือวิธีการสอบสวนสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ ญาติ หรือผู้ใกล้ชิดผู้ตาย ถึงอาการของโรค และการได้รับการรักษาก่อนเสียชีวิต • บางกรณีผู้ให้สัมภาษณ์อาจเป็นสมาชิกในชุมชนที่รู้เห็นเหตุการณ์ก่อนเสียชีวิตก็ได้
วัตถุประสงค์ • ตรวจสอบความถูกต้องของสาเหตุการตายจากมรณบัตรในกลุ่มที่มีรหัสโรคชัดเจน และ กลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุหรือสาเหตุไม่ชัดแจ้ง • เพื่อให้ได้ age-sex-cause specific correction factorsสำหรับปรับสาเหตุการตายของระบบทะเบียนราษฎร์ ในระดับประเทศ • พัฒนาเครื่องมือชันสูตรสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ที่เป็น มาตรฐานให้ใช้ได้ในทุกระดับของประเทศ
วิธีการศึกษา 1. เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ญาติ หรือผู้ดูแล กลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสัมภาษณ์สาเหตุการตาย (VA Qs) เพื่อให้ทราบถึงอาการและอาการแสดง จากนั้นส่งข้อมูลให้ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทำการวินิจฉัยสาเหตุการตาย 2. เก็บข้อมูลจากเวชระเบียน เพื่อวินิจฉัยสาเหตุการตาย โดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละพื้นที่ 3. เปรียบเทียบสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์กับสาเหตุการตายจากโรงพยาบาลที่ถือว่าเป็น gold standard นำมาวิเคราะห์ ความแม่นยำ ความไว ความจำเพาะ และอำนาจการทายผลบวก ของ เครื่องมือ
เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์(VA/Qs) แบบสัมภาษณ์มี 2 ชุด แบ่งตามกลุ่มอายุ ดังนี้ • VA/Qs กลุ่มอายุ น้อยกว่า 1 ปี • VA/Qs กลุ่มอายุ มากกว่า 1 ปีขึ้นไป link VA/Qs
เกณฑ์การเขียนแบบสอบถามเกณฑ์การเขียนแบบสอบถาม • คลอบคลุม ชุดคำถามสำหรับทุกโรคตามเป้าหมาย • ละเว้นการใช้ศัพท์แพทย์ ใช้ภาษาที่ง่ายๆ หรือภาษาท้องถิ่น เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ตอบ
การวินิจฉัยสาเหตุการตายจาก VA • รวบรวมข้อมูลประวัติการเจ็บป่วย รวมข้อมูลจากการรักษา(ถ้ามี)ในแบบสอบถาม ให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองสาเหตุการตายเป็นผู้วินิจฉัยสาเหตุ และการลงรหัสโรคตามเกณฑ์ของบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศICD-10
รายการโรคในเป้าหมายของโครงการSPICE-CODรายการโรคในเป้าหมายของโครงการSPICE-COD • เลือก20 โรคแรกที่เป็นสาเหตุนำจากทะเบียนการตายปี พ.ศ.2548(ไช้รหัสบัญชีโรคอย่างสั้น-WHO short list of mortality-103 diseases)ซึ่งครอบคลุมร้อยละ 90 ของสาเหตุตายทั้งหมด • จากเป้าหมายแจกแจงได้ประมาณ 45 โรค ที่น่าจะสอบสวนโดย VAไห้ได้สาเหตุตายอย่างถูกต้อง
ผู้ตายอายุต่ำกว่าหนึ่งขวบผู้ตายอายุต่ำกว่าหนึ่งขวบ • เด็กเอดส์ • พิการแต่กำเนิด • คลอดก่อนกำหนด/น้ำหนักน้อย • ท้องร่วงท้องเสีย • ปอดบวม • ไข้เลือดออก • เยื้อหุ้มสมองอักเสบ • อุบัติเหตุ/ถูกฆ่าตาย
สาเหตุของแม่ตาย • ติดเชื้อจากการทำแท้ง • ท้องนอกมดลูก • รกลอกตัวก่อนคลอด • ครรภ์เป็นพิษ • คลอดติดขัด • ตกเลือดก่อนคลอด/หลังคลอด • ติดเชื้อหลังคลอด
ตัวอย่างสาเหตุตาย(หนึ่งขวบขึ้นไป) form B • ไข้เลือดออก • เส้นเลือดในสมองแตก • วัณโรคปอด • ตับแข็ง • มะเร็งตับ • กล้ามเนื้อหัวใจตาย
ขั้นตอนจากนิยามโรค---เลือกสาเหตุตายจากVAขั้นตอนจากนิยามโรค---เลือกสาเหตุตายจากVA ชื่อโรค นิยามโรค ชุดคำถามของ แต่ละโรคใน VA Qs Disease algorithms เลือกสาเหตุตายจากVA
เกณฑ์การคัดเลือก คือ (1) เป็นผู้ที่มีสัญชาติไทย (2) มีที่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ในเขตจังหวัดที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ภาคใต้ กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคอิสาน ภาคเหนือ National แหล่งข้อมูล รายชื่อผู้ตายจากทะเบียนราษฎร์ปี พ.ศ. 2548(395,374ราย) ตัวอย่างการตายที่สุ่มได้ = 12121 คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างให้กระจายในทุกภาคตามสัดส่วนจำนวนคนตายในแต่ละภูมิภาค 1st stratification: region: PPS 2nd stratification: province PPS Clustering the provinces into 2 groups ; percentile 50 and over (# of death).
กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคอิสาน ภาคเหนือ ภาคใต้ ราชเทวี / หนองแขม คันนายาว สุพรรณบุรี นครนายก อุบลราชธานี เลย เชียงราย พะเยา สงขลา ชุมพร 3rd stratification: district อำเภอ1 อำเภอ2 Clustering districts into 2 groups ; percentile 50 and over (# of death).
C H I A N G R A I Payao Leoi L I I U B O N R A T C H A T H A N I Supanburi B A N G K O K Nakornnayok National level : province in each region N CHUMPON W E Songkla S
Already start for data colletion Bangkok Songkla Ubon Rachathani Nakhon Nayok Supanburi Chumporn Leoi Plan Chaingrai Payao Study provinces
ผลที่คาดว่าจะรับ • ได้เครื่องมือสอบสวนสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ (Verbal Autopsy : VA)ที่เป็นมาตรฐาน นำมาใช้ประโยชน์ในประเทศไทยต่อไป • พัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาธารณสุขในการชันสูตรด้วยการสัมภาษณ์ และเพื่อให้ได้สาเหตุการตายที่ถูกต้อง • ทราบแบบแผนสาเหตุการตายของประชากรแยกตามเพศและอายุที่จะใช้เป็น correction factors ที่จะนำไปปรับความถูกต้องของสาเหตุการตายในใบมรณบัตร • เป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาถึงภาระโรคที่สำคัญในประเทศ ต่อไป