160 likes | 410 Views
1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สัดส่วนญี่ปุ่นนำเข้าสินค้าเกษตร ปี 2546. 1. สัดส่วนไทยส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2546. 1. ญี่ปุ่น 18%. อื่นๆ 34%. 2 . สหรัฐอเมริกา 17%. 3. จีน 8%. 5 . ฮ่องกง 4%. 4 . มาเลเซีย 6%. 2.
E N D
1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สัดส่วนญี่ปุ่นนำเข้าสินค้าเกษตร ปี 2546 1
สัดส่วนไทยส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2546 1. ญี่ปุ่น 18% อื่นๆ 34% 2. สหรัฐอเมริกา 17% 3. จีน 8% 5. ฮ่องกง 4% 4. มาเลเซีย 6% 2
การค้าสินค้าเกษตร ไทยและญี่ปุ่น หน่วย: ล้านบาท 3
JTEPA Tariff Rules of Origin Cooperation SPS Local to Local 4
กลุ่มลดภาษีไม่เป็นศูนย์/เป็นศูนย์ภายใน 5-10 ปี 6
กลุ่มที่ต้องนำกลับมาเจรจาใหม่กลุ่มที่ต้องนำกลับมาเจรจาใหม่ 8
Rules of Origin (ROO) สินค้าเกษตร (ตอนที่ 01-24) 727 รายการ - 498 รายการ (มูลค่า 51,000 ล้านบาท) เข้าตลาดได้ - 229 รายการ (มูลค่า 42,000 ล้านบาท) ติดล็อค ROO สินค้าที่ติดล็อค: เนื้อสัตว์แปรรูป ผลิตภัณฑ์อาหารทะเล ผัก/ผลไม้กระป๋อง อาหารสุนัขและแมว อาหารปรุงแต่ง ขนมปังกรอบ ผงโกโก้ น้ำหวาน น้ำอัดลม ไวน์ผลไม้ 9
อุปสรรคส่งออกสินค้าเกษตรอุปสรรคส่งออกสินค้าเกษตร ด้านมิใช่ภาษี (NTBs) คุณภาพ (สารตกค้าง โรค แมลง) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (PRA) ใช้เวลานาน ROO กำหนดเงื่อนไขไม่เอื้อต่อสินค้าไทย 10
ความร่วมมือด้าน SPS ตั้งคณะทำงาน เพื่อแก้ไขปัญหา SPSมีภาคเอกชนร่วมด้วย สนับสนุนความสามารถด้าน SPS คณะทำงานจะประชุมทุกปี ให้ความสำคัญต่อคำเรียกร้องของไทย 11
Local-to-Local ตั้งคณะทำงานเชื่อมโยง Local-to-Local ร่วมพัฒนาสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ สอดคล้องตลาด ร่วมพัฒนาโครงการ OTOP พัฒนาบุคลากรด้านสหกรณ์ ส่งเสริมธุรกิจซื้อขายระหว่างสหกรณ์ 12
การเตรียมตัวของภาคเอกชนการเตรียมตัวของภาคเอกชน เน้นคุณภาพสินค้าเกษตร เน้นสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการส่งออก เช่น อาหารทะเล ผัก ผลไม้สด ไก่ต้มสุก ปรับภาพลักษณ์บรรจุภัณฑ์ ใช้เทคโนโลยีในการยืดอายุสินค้าเกษตรหลังเก็บเกี่ยว 13
JTEPA ไทยได้อะไร สินค้าเกษตรไทยมีส่วนแบ่งตลาดในญี่ปุ่นมากขึ้น เพราะต้นทุนนำเข้าถูกลง มีกลไกถาวรในการแก้ปัญหา NTBs: SPS ซึ่งไทยจะได้รับการตอบสนองเร็วขึ้น มีการลงทุนร่วมในการผลิตสินค้าเกษตร 14
1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์