1 / 53

หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น

หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น. สำหรับหน่วยงานในต่างประเทศ (สอท. คทถ. สนง. สกญ.). โครงการ GFMIS. โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์. วาระการนำเสนอ. ภาพรวมโครงการและระบบ GFMIS 2 . โครงสร้างรหัสที่สำคัญ 3. การบันทึกแบบฟอร์ม Excel. ภาพรวมโครงการและระบบ GFMIS.

sela
Download Presentation

หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้นหัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น สำหรับหน่วยงานในต่างประเทศ (สอท. คทถ. สนง. สกญ.) โครงการ GFMIS โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์

  2. วาระการนำเสนอ • ภาพรวมโครงการและระบบ GFMIS2. โครงสร้างรหัสที่สำคัญ3. การบันทึกแบบฟอร์ม Excel

  3. ภาพรวมโครงการและระบบ GFMIS

  4. “ออกแบบ จัดสร้าง ระบบบริหารงานการคลังภาครัฐของประเทศไทยอย่างสมบูรณ์แบบ ในด้านรายรับ รายจ่าย การกู้เงิน เงินคงคลัง บัญชีการเงินแบบเกณฑ์คงค้าง บัญชีสินทรัพย์ถาวร บัญชีต้นทุน บัญชีบริหาร แบบ Single Entry รวมถึงการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดทำ การอนุมัติ การเบิกจ่าย การปรับปรุง และการติดตามการใช้งบประมาณ ที่เน้นการวัดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แบบ Output-Outcome เพื่อสร้างให้เกิดฐานข้อมูลกลางด้านการเงิน การคลังภาครัฐ แบบ Matrix และ Online Real Time ทั้งตามโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม และพื้นที่ จังหวัด CEO โดยทุกส่วนราชการเริ่มใช้งานระบบจริง วันที่ 1 ตุลาคม 2547” เป้าหมายสำคัญโครงการ GFMIS

  5. GFMIS ระบบงานหลักของ e-Government • ระบบการบริหารงานการเงินการคลัง ภาครัฐ เป็นระบบงานหลัก • ส่วนหลังของประเทศ • (Back Office Operation) • ระบบบริหารเงินงบประมาณ • ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง ต้นทุน • ระบบจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ • ระบบรับจ่ายแบบอิเล็กทรอนิกส์ • ระบบข้อมูลบริหารแบบ Matrix และ Online Realtime การให้บริการ ประชาชนส่วนหน้า แบบอิเล็กทรอนิกส์ และเบ็ดเสร็จ (Front Operation) ความพึงพอใจของ ประชาชน บริการ, การใช้ เงินงบประมาณ Interface กระทรวง กรม จังหวัด พื้นที่ • One Stop Service • Call Center • Multi Channel • Face to Face • Internet/Portal • Mail/Phone/Fax e-Citizen GFMIS e-Service e-Government

  6. ขอบเขตระบบงาน ระบบงาน GFMIS ในโครงการ ประกอบด้วย ระบบงานหลัก 2 ด้าน ได้แก่1) ระบบด้านปฏิบัติการ (รองรับ โดย Software SAP R/3) ประกอบด้วย ระบบ การบริหารงบประมาณ การรับ/จ่ายและ ติดตามการใช้งบประมาณ บัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง บัญชี สินทรัพย์ถาวร บัญชีต้นทุนและบัญชีบริหาร การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารเงินสดและเงินคงคลัง 2) ระบบข้อมูลเพื่อการบริหาร (รองรับ โดย Software SAP BW) ประกอบด้วย ข้อมูลเพื่อการบริหารด้านการเงินการคลัง สำหรับ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดีกรม ผู้ว่าราชการจังหวัด CEO ผู้บริหารด้านการเงิน CFO แบบ Online Real Time และ หลายมิติ

  7. ขอบเขตระบบงาน • ระบบงาน GFMIS ระยะ ที่ 2 ครอบคลุม การบริหาร การใช้เงินงบประมาณของส่วนกลาง และ ส่วนราชการ ดังนี้ • เงินในงบประมาณ ที่ระบุตามพระราชบัญญัติงบประมาณ ประจำปี ทั้งงบกลาง และงบของส่วนราชการ ทั้งหมด • เงินนอกงบประมาณ ของส่วนราชการ ที่มีการรับ/จ่าย เงินผ่านบัญชีเงินคงคลังที่ 1 ทั้งหมด • เงินนอกงบประมาณ ของส่วนราชการ ที่ไม่ได้มีการรับ/จ่าย เงินผ่านบัญชีเงินคงคลังที่ 1 บางส่วน เฉพาะยอดเงิน ที่สามารถ ระบุ ติดตาม และบันทึกรายการ ในระบบ ในปัจจุบันได้

  8. ระบบการจัดสรรงบประมาณ SAP Strategic Enterprise Management ระบบบริหาร/ติดตามการใช้งบประมาณ SAP R/3 Fund Management ระบบบัญชีแยกประเภทแบบเกณฑ์คงค้าง SAP R/3 General Ledger ระบบบัญชีบริหาร/บัญชีต้นทุน SAP R/3 Controlling/Cost Accounting ระบบบัญชีเจ้าหนี้ SAP R/3 Account Payable ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร SAP R/3 Fixed Asset Management ระบบบริหารเงินสด SAP R/3 Cash Management ระบบจัดซื้อจัดจ้าง/บริหารพัสดุ SAP R/3 Purchasing/Inventory Mgt. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล SAP R/3 Human Resource Management ระบบการจัดทำงบการเงินรวม SAP Account Consolidation ระบบฐานข้อมูลบริหาร SAP Business Warehouse การเชื่อมโยงกับระบบภายนอก External System Interfacing รายชื่อโปรแกรมระบบงาน GFMIS ทั้งหมด

  9. GFMIS กำหนดมาตรฐานรหัสเพื่อใช้ร่วมกันทุกส่วนราชการ สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ส่วนกลาง ระบบบริหารการคลัง และบัญชีเกณฑ์คงค้าง ระบบวางแผนและ จัดทำงบประมาณ รหัสบัญชีกลาง (Common Chart of Accounts) มาตรฐานรหัสพัสดุ GPSC ระบบติดตามการใช้ งบประมาณและ ต้นทุน กิจกรรม ระบบจัดซื้อจัดจ้าง และบริหารพัสดุ ส่วนราชการ มาตรฐานรหัสจะถูกกำหนดและจัดทำโดยทีมงานมาตรฐานรหัส ซึ่งเป็นทีมงาน ร่วมกัน สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

  10. เป้าหมาย/ผลการออกแบบ: 5 กระบวนหลักอิเล็กทรอนิกส์ • กระบวนงานการจัดสรรเงินงวดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการปรับเปลี่ยน การจัดสรร/อนุมัติเงินงวด การโอน/ย้ายงบประมาณ จากการดำเนินการในระบบ BIS เป็น การดำเนินการในระบบ GFMIS รวมถึงยกเลิกการพิมพ์ใบงวดให้แก่หน่วยงาน เนื่องจากหน่วยงานผู้ใช้ระบบ GFMISสามารถเรียกดูข้อมูลการจัดสรรงบประมาณได้ทันทีจากระบบ • กระบวนงานการรับ/จ่ายฎีกาอิเล็กทรอนิกส์ • มุ่งเน้นการบันทึกการรับรายได้แผ่นดินโดยการ Interface ข้อมูลให้มากที่สุด ในด้านจ่าย ดำเนินการจ่ายตรง โอนเงินเข้าสู่บัญชีผู้ขาย

  11. เป้าหมาย/ผลการออกแบบ: 5 กระบวนหลักอิเล็กทรอนิกส์ • กระบวนงานจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ • กำหนดมาตรฐานรหัสพัสดุ GPSC สร้างให้เกิด Catalog อิเล็กทรอนิกส์กลาง เพื่อสามารถดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแบบ e-Shopping, e-Auction และ e-Tendering ในที่สุด รวมถึงปรับกฎระเบียบเพื่อ รองรับการปฏิบัติงานใหม่ • กระบวนงานระบบบริหารงบประมาณและการบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับส่วนราชการ • เพื่อสร้างให้เกิดระบบงานมาตรฐานด้าน Back Office ของส่วนราชการ และประเทศ รวมถึงจัดทำคู่มือมาตรฐานการปฎิบัติงาน SOP (System Operation Procedure) สำหรับส่วนราชการ ทั้งนี้เพื่อลดภาระในการปฏิบัติงาน เพิ่มความสะดวกและความรวดเร็วในการจัดทำรายงานของส่วนราชการ

  12. เป้าหมาย/ผลการออกแบบ: 5 กระบวนหลักอิเล็กทรอนิกส์ • กระบวนงานตรวจสอบอิเล็กทรอนิกส์ • สร้างให้เกิดข้อมูลเพื่อการติดตาม ตรวจสอบ ในระบบ รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลย้อนหลังเพื่อการตรวจสอบใน Electronic Media แทนการจัดเก็บรายงานที่เป็นกระดาษ ทำให้ลดปริมาณเอกสาร และสถานที่จัดเก็บของส่วนราชการ

  13. มีระบบบริหารงานด้าน การงบประมาณ บัญชี การเงิน การคลัง การรับจ่าย การบริหารต้นทุน การจัดซื้อจัดจ้าง ที่เป็นระบบเดียวกัน อยู่บนมาตรฐานรหัส และมาตรฐานการปฏิบัติงานเดียวกัน ทุกส่วนราชการ ลดขั้นตอน และลดภาระ กองคลัง/กองพัสดุ ในการจัดทำเอกสาร และรายงานให้ส่วนราชการกลาง เนื่องจากสามารถเรียกดูรายงานได้จากฐานข้อมูลเดียวกัน จัดทำระบบบัญชี และรายงานการเงิน แบบเกณฑ์คงค้าง โดยเฉพาะการจัดทำบัญชีสินทรัพย์ถาวร บัญชีต้นทุน และการบริหารเงินสด รวมถึงเร่งรัดระยะเวลาการปิดบัญชีสิ้นวัน สิ้นเดือน และประจำปี มีระบบฐานข้อมูลบริหารกลาง ด้านงบประมาณ การเงิน การคลัง แบบ Online Real Time เป็นข้อมูลเพื่อการตัดสินใจสำหรับ CFO และ CEO ทั้งระดับ ประเทศ กระทรวง กรม จังหวัด และพื้นที่ เพื่อบริหารและติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ตามแผนยุทธศาสตร์ พันธกิจ และเป้าหมาย ที่มีต่อประชาชน สรุปประโยชน์หลักที่ส่วนราชการจะได้รับจากโครงการ GFMIS

  14. ความหมายของ GFMIS GFMIS ย่อมาจาก Government Fiscal Management Information System GFMIS เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการคลังภาครัฐ และสามารถใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจกับนโยบายการคลัง และการปรับทิศทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างทันท่วงที

  15. การใช้งานในระบบ GFMIS มี3 วิธี 1. ระบบ SAP (Terminal GFMIS) 2. ใช้ Excel Form จากระบบ Excel Loader 3. Interface ข้อมูล

  16. กระบวนงาน GFMIS แบบบูรณาการภาพใหญ่ ระบบ GFMIS เป็นระบบที่มีการบูรณาการ (Integrated) เชื่อมโยงภายในแต่ละระบบงานอย่างสมบูรณ์ โดยการนำเข้าข้อมูลจะนำเข้าเพียงครั้งเดียว (Single Entry) และระบบจะบันทึกรายการที่เกี่ยวข้องให้อัตโนมัติ การปรับปรุงข้อมูลเป็นแบบทันทีทันใด (Online Real Time)แล้วผู้ใช้ระบบสามารถเรียกรายงานได้ในหลายรูปแบบ เช่น รายงานที่เกิดจากข้อมูลงานประจำวันทั้งด้านระบบจัดซื้อ ระบบงบประมาณ และระบบบัญชีการเงิน รายงานสำหรับผู้บริหารในแต่ละระดับ ทั้งผู้บริหารระดับหน่วยเบิกจ่าย กองคลัง กองพัสดุ กรม กระทรวง และระดับรัฐบาล ทั้งนี้ตามสิทธิ (Authorization) ที่ได้รับในแต่ละเครื่อง โดยข้อมูลการบันทึกจะเข้าไปอยู่ในฐานข้อมูลกลางของระบบแยกตามกลุ่มมาตรฐานรหัสที่อยู่ในรายการนั้นๆ ทำให้การใช้ข้อมูลจากการเรียกรายงานต่างๆสามารถมองในมิติของแต่ละกลุ่มมาตรฐานรหัสนั้นๆได้ในความละเอียด เช่น ตามรหัสโครงสร้างส่วนราชการ และพื้นที่ ตามเอกสาร UA ของหน่วยงานท่าน ตามรหัสงบประมาณ และผลผลิต ตามผังบัญชี รหัสพัสดุ GPSC และรหัสผู้ขาย เป็นต้น

  17. วาระการนำเสนอ • ภาพรวมโครงการและระบบ GFMIS2. โครงสร้างรหัสที่สำคัญ3. การบันทึกแบบฟอร์ม Excel

  18. โครงสร้างรหัสที่สำคัญโครงสร้างรหัสที่สำคัญ

  19. โครงสร้างระบบบัญชีการเงินโครงสร้างระบบบัญชีการเงิน

  20. โครงสร้างของบัญชีการเงินโครงสร้างของบัญชีการเงิน • 3. ผังบัญชีมาตรฐาน • 4. กลุ่มบัญชี • 5. รหัสบัญชีแยกประเภททั่วไป • 6. รหัสบัญชีย่อย โครงสร้างของ บัญชีแยกประเภท รหัสโครงสร้างหลักสำหรับระบบบัญชีแยกประเภท • 1. รหัสหน่วยงาน • 2. รหัสพื้นที่

  21. คำอธิบาย รหัสหน่วยงาน ความยาว 4 หลัก ประเภทของหน่วยงาน มี 4 ประเภท คือ 1. XXXX 9999 แทน รัฐบาลไทย ที่ใช้สำหรับการรับ/จ่ายเงินจากบัญชี เงินคงคลังที่ 1 2. XXXX เลขสองหลัก เรียงลำดับภายใต้กระทรวง เลขสองหลัก แทนกระทรวงที่หน่วยงานสังกัด 3. XXXX เลขสามหลัก เรียงลำดับภายใต้กระทรวงศึกษาธิการและรัฐวิสาหกิจ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ A = หน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาฯ S = รัฐวิสาหกิจ 4. 8 XXX เลขสามหลัก เรียงลำดับ เลข 8 แทน กองทุน/เงินทุน

  22. รหัสหน่วยงานของสป.กระทรวงต่างประเทศรหัสหน่วยงานของสป.กระทรวงต่างประเทศ 04XX กระทรวงการต่างประเทศ 0402 สำนักงานปลัดกระทรวง

  23. คำอธิบาย รหัสพื้นที่ (Business Area) Business Area ความยาว 4 หลัก แทนรหัสพื้นที่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1. เขตธุรกิจส่วนกลาง ------> เขตที่กองคลังส่วนกลางของส่วนราชการตั้งอยู่ 2. เขตธุรกิจระดับจังหวัด ------> รหัสคลังจังหวัด

  24. ตัวอย่างรหัสหัสพื้นที่ในต่างประเทศตัวอย่างรหัสหัสพื้นที่ในต่างประเทศ

  25. โครงสร้างระบบบัญชีแยกประเภทโครงสร้างระบบบัญชีแยกประเภท

  26. ผังบัญชีมาตรฐาน ผังบัญชีมาตรฐาน (Common Chart of Accounts) THAI หน่วยงานเทียบเท่ากรม กรม หน่วยงานอิสระ

  27. กลุ่มบัญชี และรหัสบัญชีแยกประเภททั่วไป คือ ประเภทบัญชีที่ใช้ในการควบคุมการสร้างรหัสบัญชีให้เป็นหมวดหมู่ที่ถูกต้อง

  28. โครงสร้างระบบงบประมาณโครงสร้างระบบงบประมาณ

  29. ใช้แสดงแหล่งที่มาของเงินทุนใช้แสดงแหล่งที่มาของเงินทุน • เงินในงบ • เงินนอกงบใน TR1 • เงินนอกงบนอก TR1 ก. แหล่งของเงิน FUND ข. รหัสบัญชีงบประมาณ Commitment Items ใช้แสดงมูลค่างบประมาณแยก ตามบัญชีงบประมาณ ค. รหัสงบประมาณ Fund Center ใช้แสดงมูลค่างบประมาณแยก ตามหน่วยงาน งาน/โครงการ ใช้แสดงมูลค่างบประมาณแยก ตามเขตพื้นที่ ง. พื้นที่/กิจกรรมหลัก Functional Area ใช้แสดงมูลค่างบประมาณแยก ตามหน่วยที่ได้รับงบประมาณ จ. หน่วยรับงบประมาณ Funded Program ตัวเลขงบประมาณ จะถูกเก็บในระบบ ด้วยการประกอบกันของข้อมูลหลักงบประมาณ ทั้ง 5 ตัว ดังนี้ โครงสร้างการเก็บข้อมูลงบประมาณ

  30. ใช้ในการแสดงประเภทเงินทุน ซึ่งมี 3 ประเภท ก. ประเภทแหล่งของเงิน (Fund) 1. เงินในงบประมาณ YY A B C DD แสดง หมวดรายจ่าย (สำหรับเงินในงบฯ) 1: งบบุคลากร 2: งบดำเนินงาน 3: งบลงทุน 4: งบอุดหนุน 5: งบรายจ่ายอื่น แสดง งบรายจ่าย 0: งบกลาง 1: งบส่วนราชการ 9: รายการอื่น 1: เงินในงบประมาณ แสดง ปีงบประมาณ

  31. 481 เงินในงบประมาณ • 4811งบส่วนราชการ • 48111งบบุคลากร /งบส่วนราชการ • 4811110เงินเดือน/งบส่วนราชการ • 4811120ค่าจ้างประจำ/งบส่วนราชการ • 4811130ค่าจ้างชั่วคราว/งบส่วนราชการ • 4811140ค่าจ้างลูกจ้างสัญญา/งบส่วนราชการ • 48112งบดำเนินงาน /งบส่วนราชการ • 4811210ค่าตอบแทน/งบส่วนราชการ • 4811220ค่าใช้สอย/งบส่วนราชการ • 4811230ค่าวัสดุ/งบส่วนราชการ • 4811240ค่าสาธารณูปโภค/งบส่วนราชการ • 48113งบลงทุน /งบส่วนราชการ • 4811310ครุภัณฑ์/งบส่วนราชการ • 4811320ที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง/งบส่วนราชการ ก. ประเภทแหล่งของเงิน (Fund)

  32. ก. ประเภทแหล่งของเงิน (Fund) • 48114งบอุดหนุน /งบส่วนราชการ • 4811410อุดหนุนทั่วไป/งบส่วนราชการ • 4811420อุดหนุนเฉพาะกิจ/งบส่วนราชการ • 4811421อุดหนุนเฉพาะกิจ ลักษณะค่าบุคลากร/งบส่วนราชการ • 4811422อุดหนุนเฉพาะกิจ ลักษณะค่าดำเนินงาน/งบส่วนราชการ • 4811423อุดหนุนเฉพาะกิจ ลักษณะค่าครุภัณฑ์/งบส่วนราชการ • 4811424อุดหนุนเฉพาะกิจ ลักษณะค่าที่ดิน/งบส่วนราชการ • 4811425อุดหนุนเฉพาะกิจ ลักษณะค่าสิ่งก่อสร้าง/งบส่วนราชการ • 48115งบรายจ่ายอื่น /งบส่วนราชการ • 4811501รายจ่ายอื่น ลักษณะค่าบุคลากร/งบส่วนราชการ • 4811502รายจ่ายอื่น ลักษณะค่าดำเนินงาน/งบส่วนราชการ • 4811503รายจ่ายอื่น ลักษณะค่าครุภัณฑ์/งบส่วนราชการ • 4811504รายจ่ายอื่น ลักษณะค่าที่ดิน/งบส่วนราชการ • 4811505รายจ่ายอื่น ลักษณะค่าสิ่งก่อสร้าง/งบส่วนราชการ

  33. ก. ประเภทแหล่งของเงิน (Fund) 2. เงินนอกงบประมาณในบัญชีเงินคงคลังที่ 1 YY A B C DD 00 0 1: เงินกู้ 2: เงินให้กู้ 3: เงินให้ยืม 4: เงินทดรอง 5: เงินคงคลังอื่น 6: เงินฝากคลัง 7: งบอุดหนุนใน TR 1 8: ทดรองโครงการเงินกู้ 2: เงินนอกงบใน TR1 แสดง ปีงบประมาณ

  34. 3. เงินนอกงบประมาณนอกบัญชีเงินคงคลังที่ 1 ก. ประเภทแหล่งของเงิน (Fund) YY A B C DD 00 0 1: รายได้อื่น 2: เงินกู้ 3: ทรัพย์สินช่วยราชการ 4: เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 5: งบอุดหนุน 6: เงินทดรอง 7: เงินยืม 8: เงินนอกงบจ่ายจากเงินฝากคลัง 3: เงินนอกงบนอก TR1 แสดง ปีงบประมาณ

  35. ข. รหัสบัญชีงบประมาณ (Commitment Items) • เป็นรหัสที่สอดคล้องกับรหัสบัญชีแยกประเภท โดยจะทำการเก็บค่างบประมาณ ที่กลุ่มรหัสบัญชี • ใช้บันทึกรายการสำหรับ งบบุคลากร, งบดำเนินงาน, งบอุดหนุน และ งบรายจ่ายอื่น • กลุ่ม 5000 – ค่าใช้จ่าย • ใช้บันทึกรายการสำหรับ งบลงทุน,งบอุดหนุน, งบรายจ่ายอื่น • กลุ่ม 1204 – หมวดที่ดิน • กลุ่ม 1208 – หมวดสิ่งก่อสร้าง • กลุ่ม 1206XX– หมวดครุภัณฑ์

  36. MMAAAXPPPP ZZZZZZ Running No. 0 – รายการอื่นที่ไม่ใช่ครุภัณฑ์ อาคาร และ สิ่งก่อสร้าง 1 – ครุภัณฑ์ < 1 ล. อาคาร, สิ่งก่อสร้าง < 10 ล. 2 – ครุภัณฑ์ >= 1 ล. อาคาร, สิ่งก่อสร้าง >= 10 ล. รหัสกระทรวง รหัสกรม รหัสงาน/โครงการ ประเภทรายการ 0 – งบประจำ 1 – ครุภัณฑ์ 2 – ที่ดิน 4 – อาคาร, สิ่งก่อสร้าง 5 – อุดหนุนทั่วไป 6 – อุดหนุนเฉพาะกิจ 7 – รายจ่ายอื่น • 0 งบกลาง • 1 งาน • 2 ทุนหมุนเวียน • 5 โครงการ • 8 โครงการ เงินช่วยเหลือต่างประเทศ • 9 โครงการ เงินกู้ต่างประเทศ ค. รหัสงบประมาณ (Fund Center)

  37. ตัวอย่างรหัสงบประมาณ • 04002 สำนักงานปลัดกระทรวงต่างประเทศ • 0400210101งานบริหารจัดการต่างประเทศ • 0400210101000000รายการงบประจำ • 040021010111XXXXรายการงบลงทุน ครุภัณฑ์ < 1M • 040021010112XXXXรายการงบลงทุน ครุภัณฑ์ >= 1M • 04002101012XXXXXรายการงบลงทุน ที่ดิน • 040021010141XXXXรายการงบลงทุน อาคาร, สิ่งก่อสร้าง < 10M • 040021010142XXXXรายการงบลงทุน อาคาร, สิ่งก่อสร้าง >= 10M • 04002101015XXXXXรายการงบอุดหนุนทั่วไป • 04002101016XXXXXรายการงบอุดหนุนเฉพาะกิจ • 04002101017XXXXXรายการงบรายจ่ายอื่น • 0400250101 โครงการ

  38. ระบุรหัสกิจกรรมหลัก 14 หลัก MMAAA XXXXYYYYY รหัสกิจกรรม รหัสพื้นที่/ประเทศ รหัสหน่วยงาน ตัวอย่าง 04002 C005A0002 กิจกรรมการดำเนินภารกิจในต่างประเทศในลักษณะบูรณาการ ง. รหัสกิจกรรมหลัก (Functional Area)

  39. โครงสร้างรหัสระบบจัดซื้อจัดจ้างโครงสร้างรหัสระบบจัดซื้อจัดจ้าง

  40. โครงสร้างระบบบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ในระบบ GFMIS โครงสร้างระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง โครงสร้างในระบบ SAP การจัดซื้อ/จัดจ้าง รัฐบาลไทย องค์กรการจัดซื้อ คลังพัสดุ ส่วนราชการระดับกรม หน่วยจัดซื้อ ผู้รับผิดชอบงานจัดซื้อ/จัดจ้าง พื้นที่ส่วนกลาง ใช้รหัสส่วนกลางของแต่ละกรม ผู้รับผิดชอบงานจัดซื้อ/จัดจ้าง พื้นที่ส่วนภูมิภาค ใช้รหัสร่วมกันทุกส่วนราชการ โดยรหัสแยกตามจังหวัด

  41. งานเบิกจ่าย ดำเนินงานตามปกติ โดย สป.เป็นผู้บันทึกตั้งเบิกในระบบ GFMIS งานครุภัณฑ์ (สินทรัพย์) ดำเนินงานตามปกติและส่งทะเบียนครุภัณฑ์มายัง สป. เพื่อให้สป. บันทึกมูลค่าสินทรัพย์ ใน GFMIS งานบัญชีแยกประเภททั่วไป ส่งแบบฟอร์มบันทึกรายการค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานในต่างประเทศนำเงินไปใช้ ผ่าน Website ของกระทรวงฯมาที่สป.กระทรวงต่างประเทศเพื่อนำเข้าในระบบ GFMIS งานด้านจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการในต่างประเทศ ไม่ต้องนำเข้าในระบบจัดซื้อ GFMIS สรุปงานของหน่วยงานในต่างประเทศ

  42. วาระการนำเสนอ • ภาพรวมโครงการและระบบ GFMIS2. โครงสร้างรหัสที่สำคัญ3. การบันทึกแบบฟอร์ม Excel

  43. 2 3 หน่วยงานในต่างประเทศ บันทึกรายการในแบบฟอร์ม (Excel File) หน่วยงานในต่างประเทศ นำส่งข้อมูล(แบบฟอร์มที่บันทึก) กลับเข้า Website กระทรวงต่างประเทศ 4 1 กองคลัง (สป.กระทรวงต่างประเทศ) ตรวจสอบข้อมูลและนำข้อมูลเข้าระบบ GFMIS หน่วยงานในต่างประเทศ ขอรับแบบฟอร์มจาก Website กระทรวงต่างประเทศเพื่อบันทึกรายการ ภาพรวมกระบวนงานของหน่วยงานในต่างประเทศ

  44. การขอรับ แบบฟอร์ม File Excel Template Downloads

  45. การขอรับแบบฟอร์ม Excel PC ที่เชื่อมต่อInternet หน่วยงานในต่างประเทศ รับไฟล์ Excel Loader Template เป็นต้นแบบในการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ จาก Websitehttp://www.mfa.go.th/financeหรือ http://203.150.20.1/financeในหัวข้อ GFMIS แบบฟอร์ม ขอรับแบบฟอร์มครั้งเดียวจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบฟอร์ม

  46. ขั้นตอนการขอรับแบบฟอร์ม Excel 1. เปิด Internet Explorer โดย Double Click ที่สัญลักษณ์

  47. ขั้นตอนการขอรับแบบฟอร์ม Excel 2. เข้าสู่ website: http://www.mfa.go.th/financeหรือ http://203.150.20.1/finance

  48. ขั้นตอนการขอรับแบบฟอร์ม Excel 3. เลือกหมวด GFMIS แล้วทำการรับแบบฟอร์ม

  49. การบันทึกรายการ ในแบบฟอร์ม Excel

  50. การบันทึกรายการในแบบฟอร์ม Excel 0402 1 5 2 6 3 7 JV 4 8 10 14 13 17 11 15 9 12 16 บันทึกข้อมูลในช่องต่าง ๆ ที่มีหมายเลขโดยดูรายละเอียดในคู่มือการกรอกแบบฟอร์ม

More Related