520 likes | 1.38k Views
การบริหารจัดการยาให้ผู้ป่วย : บทบาท พยาบาล. มี 5 ขั้นตอน คือ Ordering (prescribing) แพทย์ Transcribing พยาบาล Dispensing เภสัชกร Administering พยาบาล Monitoring พยาบาล/ แพทย์ / เภสัชกร การ ให้ยา อย่างปลอดภัย ..
E N D
การบริหารจัดการยาให้ผู้ป่วย :บทบาทพยาบาล มี 5 ขั้นตอน คือ • Ordering (prescribing) แพทย์ • Transcribing พยาบาล • Dispensing เภสัชกร • Administering พยาบาล • Monitoring พยาบาล/ แพทย์/ เภสัชกร การให้ยา อย่างปลอดภัย.. จะต้องป้องกันความคลาดเคลื่อนในทุกขั้นตอน
แนวทางบริหารจัดการยาอย่างปลอดภัยแนวทางบริหารจัดการยาอย่างปลอดภัย สมาคมวิชาชีพ พัฒนาคู่มือเพิ่มความปลอดภัย
แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่งด่วนของสรพข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่งด่วนของสรพ เพื่อให้การทบทวนคำสั่งใช้ยาสามารถตรวจพบปัญหาสำคัญและตรวจสอบพบความคลาดเคลื่อนทางยาในระหว่างแผนกได้ ควรให้เภสัชกรเข้าถึงคำสั่งการใช้ยา/การรักษาที่เกี่ยวข้องได้ในทุกคำสั่ง รวมทั้งเข้าถึงข้อมูลเฉพาะของผู้ป่วยที่จำเป็นต่อการทบทวนได้ อย่างเพียงพอ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่งด่วนของสรพ โดยให้ขยายผลการปรับลดปริมาณยา หรือ จำนวนวันในการกระจายยาในหอผู้ป่วยใน ให้เหมาะสมกับการสั่งใช้ยามากขึ้น โดยเฉพาะในหอผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง/วิกฤติ ระบบกระจายยา โดยให้ทบทวนให้มีรายการยาที่เหมาะสมตามความจำเป็นเร่งด่วน ของการดูแลรักษาและการควบคุมสภาวะการจัดเก็บในทุกหน่วยงาน ให้เหมาะสมเพื่อให้ยามีคุณภาพที่ดีจนถึงการใช้งาน การเก็บและสำรองยาในหอผู้ป่วย การทบทวนคำสั่งใช้ยาโดยเภสัชกร
สำรวจข้อมูล ศึกษาปัญหา ในการสำรองยาในหอผู้ป่วย รายการยาสำรองในหอผู้ป่วย ความต้องการอุปกรณ์จัดเก็บยา, ยาเสพติด การดำเนินการ
ข้อมูลที่พบ ยาเสพติด 1.ตู้ไม่มีกุญแจ Lock 2.มีกุญแจแต่ไม่Lock / ไม่มีสัญญาณปิด-เปิด 3.ผสมแล้วไม่ระบุชนิดและความแรง 4. เก็บยามากกว่า 1 ชนิดใน tray เดียวกัน 5. มียาเกินจำนวนที่Stock HAD 1.จัดเก็บรวมกับยาผู้ป่วยทั่วไป 2.เข้าถึงง่าย/รวมอยู่กับยาเสพติด 3.ผสมแล้ว ไม่ label ยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น : ไม่ label ชื่อผู้ป่วย ยาที่เก็บในอุณหภูมิ < 25°C :มีทั้งเก็บที่อุณหภูมิห้อง และเก็บในตู้เย็น การตรวจสอบ 1.ไม่สม่ำเสมอ 2.จำนวนไม่ตรง 3.ไม่ตรงไม่อธิบายการแก้ไข/เหตุผล 4. ไม่ตรวจนับ/ลืมคืนยา/การคืนยาภายหลัง การดำเนินการ
จัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกับหน่วยพัฒนาคุณภาพจัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกับหน่วยพัฒนาคุณภาพ ตู้เก็บยาเสพติด ภาชนะเก็บยาสต๊อก , ยาเฉพาะราย จัดทำระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะทำงานฯ การดำเนินการ
สื่อสารทำความเข้าใจระเบียบปฏิบัติทั้ง 4 เรื่อง วันที่ 20 พ.ย.56 กลุ่ม HN, senior staff จำนวน 80 คน วันที่ 21 พ.ย.56 กลุ่มพยาบาล จำนวน 240 คน การดำเนินการ
ติดตามการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติทั้ง 4 เรื่อง โดยการลง audit การปฏิบัติที่หอผู้ป่วย การดำเนินการ
การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock) วัตถุประสงค์ เพื่อ 1)ให้มียาช่วยชีวิต (Life saving) ยาจำเป็น (Essential drugs) เพียงพอ พร้อมใช้ 2)จัดเก็บอย่างถูกต้องตามมาตรฐาน 1. การสำรองยา (Stock) 1.1 ทบทวนรายการ/จำนวน ยาสำรองให้มีจำนวนเพียงพอและพร้อมใช้ทันเวลา (ปรับเปลี่ยนลดจำนวน หรือรายการยา กรณีเพิ่มรายการ/จำนวน ให้ระบุความจำเป็น) 1.2 ตรวจสอบจำนวนยาสำรองทุกวัน 1.3 ทบทวนรายการยา และจำนวนร่วมกับทีมแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยทุก 3 เดือน และ/หรือเมื่อจำเป็นตามความต้องการของกลุ่มผู้ป่วย
การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)(ต่อ) 2. การจัดเก็บตามมาตรฐาน 2.1 ยาเสพติด 2.1.1 จัดเก็บในตู้ หรือกล่อง และล็อคทุกครั้ง (มีสัญญาณ แสง เสียง เมื่อเปิด) 2.1.2 บันทึกการใช้ทุกครั้ง (ตามแบบฟอร์ม) 2.1.3 เมื่อผสมแล้วให้ระบุ ชนิดยา ความแรง วัน/เวลาผสม และหมดอายุ 2.1.4 ตรวจสอบจำนวนทุกเวร หัวหน้าหอผู้ป่วยติดตามกำกับอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)(ต่อ) 2. การจัดเก็บตามมาตรฐาน 2.2 ยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drugs; HAD) มีการจัดเก็บในพื้นที่หรือภาชนะที่เข้าถึงได้โดยตั้งใจเท่านั้น 2.2.1 จัดเก็บยาแยกจากยาทั่วไปของผู้ป่วย (รออุปกรณ์) 2.2.2 เมื่อเปิดใช้แล้วต้องระบุชนิดยา ระบุความแรง วันเวลาผสม และหมดอายุ 2.3 การเก็บยาในตู้เย็น ตรวจสอบฉลากที่ระบุระดับอุณหภูมิของยาแต่ละชนิด 2.3.1 แยกชนิดของยาอย่างชัดเจน 2.3.2 ยาผู้ป่วยเฉพาะรายต้องระบุชื่อผู้ป่วยอย่างชัดเจน และแยกเก็บเป็นรายบุคคล
การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock) (ต่อ) 2.4 การจัดเก็บยาผู้ป่วยที่นำมาจากบ้าน 2.4.1 ตรวจสอบรายการยาและจำนวนยา 2.4.2 ตรวจสอบแผนการักษาที่จำเป็นต้องต้องให้ยานอกบัญชีของผู้ป่วย ส่งยาให้เภสัชกรตรวจสอบชนิดและคุณภาพทางกายภาพของยา 2.4.3 จัดยาให้ผู้ป่วยตามแผนการรักษา 2.4.4 จัดเก็บยาผู้ป่วยซึ่งไม่ได้ใช้ในสถานที่เก็บและพิจารณาคืนยาเมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
การจัดเก็บยาในหอผู้ป่วยการจัดเก็บยาในหอผู้ป่วย PCA , PCEA Drug box Emergency drug box
การจัดเก็บยาในตู้เย็นการจัดเก็บยาในตู้เย็น ยาสำรองและยาผู้ป่วยเฉพาะราย วัดอุณหภูมิตู้เย็น
ตู้จัดเก็บยาเสพติด Fentanyl Morphine Pethidine
การประเมินภายหลังการได้รับยาการประเมินภายหลังการได้รับยา ประเมินประสิทธิผล ประเมินความปลอดภัย
ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา?ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา? • แพทย์ นับว่าเป็นบุคคลที่สำคัญมาก • เภสัชกร นับว่าเป็นผู้ที่มีความรู้เรื่องยามากที่สุด • พยาบาล นับเป็นบุคลากรที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่สุด • ผู้ป่วย ญาติหรือผู้ดูแล ป่วยจะเป็นบุคคลแรกที่รับรู้ได้ว่าเกิดความผิดปกติขึ้น (จันทิมา โยธาพิทักษ์,2537)
ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา?ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา? แพทย์ : การตรวจร่างกาย การสั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การสั่งตรวจวินิจฉัยอื่นๆ การนัดผู้ป่วยมาติดตาม ความรู้เรื่อง ADR เภสัชกร : เภสัชกรควรทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาหรือให้ข้อมูลแก่บุคลากรสาธารณสุขอื่นๆ เกี่ยวกับ ADR ผลการตรวจที่สำคัญในการเฝ้าระวังหรือสังเกตอาการ ADR จากยาต่างๆ
ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา?ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา? พยาบาล : ผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล การตรวจร่างกายประจำวัน การรวบรวมผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือผลการตรวจอื่นๆ การทำความสะอาดให้แก่ผู้ป่วย ความผิดปกติทางผิวหนัง ผื่นแพ้ ผู้ป่วย ญาติหรือผู้ดูแล สำหรับ ADR ผู้ป่วยจะเป็นบุคคลแรกที่รับรู้ได้ว่าเกิดความผิดปกติขึ้น ผู้ป่วยอาจไม่ทราบว่าอาการผิดปกติ ดังนั้น การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติสังเกตอาการ ADR ได้เร็วขึ้น
การให้ยา High Alert Drug;(HAD) Infusion pump drip Label line
แบบบันทึกการเฝ้าระวังการใช้ยาแบบบันทึกการเฝ้าระวังการใช้ยา Morphine Fentanyl
ระบบเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนระดับเกือบพลาด(Near miss) พัฒนาโปรแกรมโดย พว.สุดถนอม กมลเลิศ งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ • Prescribing error • Processing error • Dispensing error • Administration error ระดับ A มีเหตุการณ์ที่มีโอกาสก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน ระดับ B มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นแต่ไม่ถึงตัวผู้ป่วย
ระบบเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนระดับเกือบพลาด(Near miss)(ต่อ) 1. Prescribing error(11) ตัวอย่าง 1.1 แพทย์สั่งยาผิดขนาด/ไม่ระบุขนาด 1.2 แพทย์สั่งด้วยวาจา/โทรศัพท์ 1.3แพทย์เขียนคำสั่งไม่ชัดเจน/อ่านไม่ออก 2. Processing error(9) ตัวอย่าง 2.1 ติดสติกเกอร์ผิดคน 2.2 ระบุวัน/เวลาให้ยาไม่ถูกต้อง
ระบบเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนระดับเกือบพลาด(Near miss)(ต่อ) 3. Dispensing error (10) ตัวอย่าง 3.1 จ่ายยาผิดหอผู้ป่วย 3.2 จ่ายยาผิดขนาด 3.3 จ่ายยาไม่ครบตามจำนวน 4.Administration error(9) ตัวอย่าง 4.1 เก็บยาไม่ถูกต้อง(ยากลุ่มเสี่ยงสูง/ยาต้องเก็บในตู้เย็น) 4.2 จัดยาผิดขนาด 4.3 จัดยาผิดเวลา
การนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัยการนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย พนักงานการแพทย์ นำส่งยา ยาต้องเก็บในตู้เย็น
การนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัยการนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย กล่องนำส่งยา กล่องคืนยา
ระบบรายงานความคลาดเคลื่อนระบบรายงานความคลาดเคลื่อน ระดับNear miss สุดถนอม กมลเลิศ รายงานอุบัติการณ์ รัชนี ศรีวิชัย