1 / 27

กรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม และแนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน ในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ด้านทรัพยากร

กรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม และแนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน ในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12 มีนาคม 2548. 1.

aliya
Download Presentation

กรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม และแนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน ในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ด้านทรัพยากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมและแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินในระยะ4 ปี (พ.ศ. 2548-2551)ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12 มีนาคม 2548

  2. 1 กรอบยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม และแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) • การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม • การจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน

  3. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) มติ ครม. เมื่อ 11 มกราคม 2548 เห็นชอบข้อเสนอของ สศช. ในการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ

  4. หลักการพื้นฐานของการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมหลักการพื้นฐานของการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge applicationล ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality

  5. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมของประเทศยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 1.การเพิ่มมูลค่าภาคเกษตรและการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ2. การเพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรมและการค้า ระหว่างประเทศ3. การขยายฐานภาคบริการ 4. การพัฒนาสังคมเชิงรุก5. ความมั่งคงและการต่างประเทศ6. การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ

  6. การจัดกลุ่มภารกิจ 7 กลุ่มหลัก 1.ภาคการผลิตและบริการ 2.การลงทุนทางสังคม 3.ระบบโลจิสติกส์และโครงสร้างพื้นฐาน 4.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การศึกษาวิจัย และ นวัตกรรม 5.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6.ความมั่นคงและการต่างประเทศ 7.การบริหารจัดการที่ดี กฎหมาย และระเบียบภาครัฐ

  7. กลไกการประสานงานของแต่ละกลุ่มภารกิจกลไกการประสานงานของแต่ละกลุ่มภารกิจ กระทรวงเจ้าภาพผอ.สนผ.(Secretariat) สศช.(Co-Secretariat) • ภารกิจมอบหมาย • ทิศทางการพัฒนาของแต่ละกลุ่ม (Strategic Direction) • แผนปฏิบัติการ (Action Plan) • แผนการลงทุน (Investment Plan) ผู้แทนกระทรวงที่เกี่ยวข้อง / คณะทำงาน สถาบันเฉพาะทาง สถาบัน การศึกษา ภาคเอกชน

  8. ยุทธศาสตร์การเพิ่มมูลค่าภาคเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติยุทธศาสตร์การเพิ่มมูลค่าภาคเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เป้าหมาย เพิ่มสัดส่วนGDP 9.2ในปี2547เป็น9.9ในปี2551 มาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพของปัจจัยการผลิต เพิ่มพื้นที่ชลประทาน  จัดระบบบริหารจัดการแหล่งน้ำให้มีประสิทธิภาพ ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพดินและความหลากหลาย ทางชีวภาพ

  9. โครงสร้างระบบการบริหารราชการแผ่นดินแนวใหม่โครงสร้างระบบการบริหารราชการแผ่นดินแนวใหม่ รัฐธรรมนูญ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์หลักของรัฐบาล ผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย ผลประโยชน์ ของชาติ Government Agenda ผลลัพธ์ ขั้นกลาง การตัดสินใจทางการเมือง คณะรัฐมนตรี นรม. รองนายกฯ รมต. ผลลัพธ์ Functional Agenda การจัดสรรทรัพยากร Area-based Agenda ยุทธศาสตร์กระทรวง(ผลงานหลัก) ยุทธศาสตร์กลุ่ม จว. (ผลงานหลัก) ข้อเสนอเชิงนโยบาย ปลัดกระทรวง ผลผลิต /กิจกรรม การปฏิบัติงาน ผู้ว่าราชการจังหวัด อธิบดี

  10. แนวคิดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม นำกลับมาใช้ใหม่ มาตรการ วัตถุดิบ ผู้ผลิต ผู้บริโภค สั่งสินค้า บริการสินค้า มาตรการ นำกลับมาใช้ใหม่ ของเหลือ ของทิ้ง ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ของเหลือ ของทิ้ง

  11. 2 กรอบยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.1 การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ 2.2การคุ้มครองและฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติ 2.3 การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

  12. 2.1 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ อุทยานและป่าเศรษฐกิจ พัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ในอุทยาน โดยต้องพิจารณาความสามารถในการรองรับ ของระบบนิเวศ (Carrying Capacity ) สนับสนุนให้เอกชนปลูกไม้เศรษฐกิจในที่ดินตัวเอง

  13. 2.1 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ทะเลและชายฝั่ง เพิ่มปริมาณและความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน และปะการัง เพื่อสร้างสมดุลของการขยายพันธุ์ สัตว์น้ำ ควบคุมเครื่องมือประมงที่ทำลายล้างสัตว์น้ำ คือ อวนลากและอวนรุนอย่างเด็ดขาด

  14. 2.1 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ดินและที่ดิน กระจายการถือครองที่ดิน คุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมที่รัฐได้ลงทุนระบบ ชลประทานไว้แล้ว ให้ใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ตลอดไป  ใช้ประโยชน์ที่ดินตามศักยภาพของน้ำและดิน  ส่งเสริมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และชีวภาพ โดยชุมชน

  15. 2.1 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ น้ำ บริหารจัดการเป็นลุ่มน้ำ เพื่อแก้ไขปัญหา น้ำขาดแคลน และน้ำแล้ง น้ำท่วม น้ำเสีย เพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนด้วยการพัฒนาแหล่งน้ำ ขนาดเล็ก รวมทั้งระบบกระจายน้ำให้พอเพียง ทั่วถึงและเป็นธรรม

  16. 2.1 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ น้ำ (ต่อ)  เก็บค่าน้ำดิบให้ครบถ้วนจากภาคการผลิต นอกภาคเกษตร เพื่อการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ป้องกันน้ำท่วม โดยพัฒนาโครงข่ายผันน้ำท่วม

  17. 2.2 การคุ้มครองและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้และชายฝั่ง  กำหนดพื้นที่คุ้มครอง ห้ามใช้ประโยชน์ทาง เศรษฐกิจ  ป่าต้นน้ำและป่าอนุรักษ์ร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ  ป่าชายเลน ไม่น้อยกว่า 1.5 ล้านไร่  พื้นที่ชุ่มน้ำ ไม่น้อยกว่า 1.0 ล้านไร่  จัดทำแนวเขตป่าต้นน้ำและป่าอนุรักษ์ที่ชัดเจน

  18. 2.2 การคุ้มครองและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มความสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าคุ้มครอง เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ผลักดันการใช้ประโยชน์ป่าไม้ในลักษณะป่าชุมชน เพื่อการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนและลดปัญหาความ ยากจน

  19. 2.2 การคุ้มครองและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ดิน  เพิ่มภาษีการนำเข้าสารเคมีทางการเกษตร ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

  20. 2.2 การคุ้มครองและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ฟื้นฟูป่าต้นน้ำของแต่ละลุ่มน้ำ เสริมความปลอดภัยเขื่อน/อ่างเก็บน้ำ พัฒนาระบบข้อมูลและการพยากรณ์ทรัพยากรน้ำ ในลุ่มน้ำ สร้างเอกภาพในการจัดการน้ำของประเทศ

  21. 2.3 การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาตรการจูงใจ ลดภาษีสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ให้ กปน. กปภ. และเทศบาล เก็บค่าน้ำดี โดยรวมต้นทุนการบำบัดน้ำเสีย ลดภาษีก๊าซโซฮอล์ ไบโอดีเซล และพลังงาน สะอาด

  22. 2.3 การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ลดภาษีสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้ภาครัฐเป็นผู้นำการใช้สินค้า จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โดยมีเงื่อนไขเพื่อการพิทักษ์รักษา สิ่งแวดล้อม สนับสนุนกลุ่มธุรกิจการจัดการขยะแบบครบวงจร (cluster) เพื่อนำขยะมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต

  23. 2.3 การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ เพิ่มขีดความสามารถของท้องถิ่น ในการจัดการ มลพิษทุกรูปแบบ ที่ท้องถิ่นต้องรับผิดชอบ องค์ความรู้ทางวิชาการ การจัดเก็บค่าบริการกำจัดมลพิษ การสื่อสารและสร้างความร่วมมือจากประชาชน

  24. 2.3 การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การลงทุนภาครัฐ  ให้กลุ่มเทศบาลก่อสร้างระบบกำจัดขยะที่ถูก สุขลักษณะที่ใช้ร่วมกัน หรือดำเนินธุรกิจ ร่วมกับเอกชนในการจัดการขยะแบบครบวงจร  สนับสนุนการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียของกลุ่ม ครัวเรือน 5-10 ครัวเรือน  ขยายและเชื่อมโยงระบบขนส่งมวลชนให้ ครอบคลุมพื้นที่เมือง

  25. 2.3 การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาตรการทางกฎหมาย  ให้มีกฎหมายขยะและของเสียอันตรายโดยเฉพาะ โดยประมวลจากที่กระจายอยู่ตามกฎหมายต่างๆ  ปรับปรุงและออกกฎหมายควบคุมการนำเข้า ตลอดจนการผลิตสินค้าที่ก่อให้เกิดของเสีย อันตราย เพื่อประโยชน์ต่อผู้บริโภคและการรักษา สิ่งแวดล้อม

  26. 3. แนวทางดำเนินงานเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนการลงทุนในระยะ 4 ปี • ทิศทางและยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ทส.และ สวล. ทบทวนทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการ • แผนปฏิบัติการ(Action Plan) กำหนดความรับผิดชอบของหน่วยงาน กิจกรรม วิธีดำเนินการ และผู้ที่จะได้รับผลประโยชน์  มีลักษณะบูรณาการเป้าประสงค์  มีการกำหนดตัวชี้วัด • แผนการลงทุน(Investment Plan) แผนงาน/โครงการ ขนาดการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ รายละเอียดงบประมาณรายปีในช่วง 4 ปี

  27. สวัสดี... http://www.nesdb.go.th

More Related