390 likes | 871 Views
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548. มีผลบังคับใช้. ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2548. ยกเลิก. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟัง ความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ์ พ.ศ. 2539. ระเบียบข้อ ๓. แนวทางที่จะต้องดำเนินการ. กรณีทั่วไป
E N D
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548
มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2548 ยกเลิก ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟัง ความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ์ พ.ศ.2539 ระเบียบข้อ ๓
แนวทางที่จะต้องดำเนินการแนวทางที่จะต้องดำเนินการ กรณีทั่วไป ผลกระทบกว้างขวาง 1. ต้องจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูล 2. ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้ดำเนินการเผยแพร่ 3. พิจารณาให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หรือผู้มีส่วนได้เสียอาจร้องขอให้รับฟังความคิดเห็นก่อนก็ได้ 4. ทำก่อนเริ่มดำเนินโครงการ กรณีมีผลกระทบอย่างรุนแรง ต้อง จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนด้วย ก่อนเริ่มดำเนินการเสมอ ระเบียบข้อ ๕
กรณีที่จะต้องดำเนินการกรณีที่จะต้องดำเนินการ โครงการ 1. ของหน่วยงานของรัฐ 2. การพัฒนาเศรษฐกิจหรือสังคม 3. รัฐเป็นผู้ดำเนินการเอง/ให้สัมปทาน/อนุญาต 4. เกิดผลกระทบอย่างกว้างขวาง ระเบียบข้อ ๔
ข้อมูลที่ต้องเผยแพร่แก่ประชาชนข้อมูลที่ต้องเผยแพร่แก่ประชาชน 1. เหตุผลความจำเป็น และวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. สาระสำคัญของโครงการ 3. ผู้ดำเนินการ 4. สถานที่ที่จะดำเนินการ 5. ขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินการ 6. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 7. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชน รวมทั้งมาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยา 8. ประมาณการค่าใช้จ่ายและที่มาของเงิน วิธีการเผยแพร่ข้อมูล – ในระบบสารสนเทศของ สปน. และอื่นๆขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของหน่วยงาน โดยหลักการ เพียงพอที่ประชาชนจะรับทราบและมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงการของรัฐ ระเบียบข้อ ๗
ต้องเผยแพร่ที่ http://www.publicconsultation.opm.go.th ระเบียบข้อ ๗
วัตถุประสงค์ของการรับฟังความคิดเห็นวัตถุประสงค์ของการรับฟังความคิดเห็น ประชาชนมีความเข้าใจที่ถูกต้อง รวบรวมความคิดเห็น / ความเดือดร้อน / ความเสียหาย ระเบียบข้อ ๘
การประกาศให้มีการรับฟังความคิดเห็นการประกาศให้มีการรับฟังความคิดเห็น ก่อน การรับฟังความคิดเห็น 15 วัน ต้องประกาศให้ประชาชนทราบถึง 1. วิธีการรับฟังความคิดเห็น 2. ระยะเวลา 3. สถานที่ 4. รายละเอียดอื่น ๆ โดยต้องปิดไว้อย่างเปิดเผย และประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ระเบียบข้อ ๑๑
วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนวิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 4. การสนทนากลุ่มย่อย การสำรวจ ความคิดเห็น 1. การสัมภาษณ์รายบุคคล 3. การเปิดโอกาสให้ประชาชนมารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบโครงการ 2. การเปิดให้แสดงความคิดเห็นโดยทางไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางอื่นใด ระเบียบข้อ ๙
การสัมภาษณ์รายบุคคล 1. ตัวอย่าง
การเปิดให้แสดงความคิดเห็นโดยทางไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางอื่นใด 2. ตัวอย่าง
การเปิดให้แสดงความคิดเห็นโดยทางไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางอื่นใด (ต่อ) 2. ตัวอย่าง
การเปิดโอกาสให้ประชาชนมารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็น ต่อหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบโครงการ 3. ตัวอย่าง
การสนทนากลุ่มย่อย 4. ตัวอย่าง
วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (ต่อ) การประชุมปรึกษาหารือ 1. การประชาพิจารณ์ 2. การอภิปรายสาธารณะ 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 4. การประชุมเชิงปฏิบัติการ 5. การประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย ระเบียบข้อ ๙
การประชาพิจารณ์ 1. ตัวอย่าง
การอภิปรายสาธารณะ 2. ตัวอย่าง
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 3. ตัวอย่าง
การประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ 4. ตัวอย่าง
การประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องการประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือมีส่วนได้เสีย 5. ตัวอย่าง
หลังจากมีการรับฟังความคิดเห็นแล้วหลังจากมีการรับฟังความคิดเห็นแล้ว จัดทำสรุปผล และประกาศให้ทราบภายใน 15 วัน และถ้าหากปรากฏว่า ผลกระทบมากกว่าข้อมูลที่เผยแพร่ ดำเนินโครงการต่อ ต้องกำหนดมาตรการป้องกัน / แก้ไข / เยียวยา (เพิ่มเติม)และประกาศให้ทราบ ระเบียบข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓
ต้องประกาศที่ http://www.publicconsultation.opm.go.th ระเบียบข้อ ๑๒
ระเบียบนี้ไม่ใช้บังคับในกรณีระเบียบนี้ไม่ใช้บังคับในกรณี กฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ เริ่มดำเนินโครงการก่อนวันบังคับใช้ ระเบียบข้อ ๑๔
ด้วยความขอบคุณ ศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สายด่วนของรัฐบาล 1111 โทรศัพท์ 0-2283-1292 สายด่วนระเบียบรับฟังฯ 08-9521-5700 http://www.publicconsultation.opm.go.th