950 likes | 1.25k Views
การยกระดับและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ตามกรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA)”. วันอังคารที่ 23 มิถุนายน 2552. โดย รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม. แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย ระยะที่ 1 : พ.ศ. 2546 – 2550 (ตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2546).
E N D
การยกระดับและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ตามกรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)” วันอังคารที่ 23 มิถุนายน 2552 โดย รศ. รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม Introduction to PMQA
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย ระยะที่ 1: พ.ศ. 2546 – 2550 (ตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2546) Introduction to PMQA
1. พัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชนที่ดีขึ้น พัฒนาระบบราชการ ไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการ พัฒนาประเทศในยุค โลกาภิวัตน์โดยยึด หลักธรรมาภิบาล และประโยชน์สุข ของประชาชน 2. ปรับบทบาทภารกิจ และ ขนาดให้มีความเหมาะสม 3. ยกระดับขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้อยู่ใน ระดับสูงและเทียบเท่าเกณฑ์ สากล 4. ตอบสนองต่อการบริหาร ปกครองในระบอบประชาธิปไตย เป้าประสงค์หลัก (ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์) ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ 1 ยุทธศาสตร์ 2 ยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ 7 Introduction to PMQA
ยุทธศาสตร์ 1การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการ ยุทธศาสตร์ 2 การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ 3การปรับรื้อระบบการเงินและงบประมาณ ยุทธศาสตร์ 4การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบ แทนใหม่ ยุทธศาสตร์ 5การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยมของระบบราชการ ยุทธศาสตร์ 6การเสริมสร้างความทันสมัย (รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์) ยุทธศาสตร์ 7การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วม Introduction to PMQA
พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ Introduction to PMQA
Tons of Tool ERM KM CM ISO 6 Sigma TQM ¤Φξ LEAN BSC ABC RBM EVA GG Introduction to PMQA
จะมีเครื่องมืออะไรมาช่วยในการบริหารให้บรรลุพันธกิจและบูรณาการเรื่องเหล่านี้เข้าด้วยกัน?จะมีเครื่องมืออะไรมาช่วยในการบริหารให้บรรลุพันธกิจและบูรณาการเรื่องเหล่านี้เข้าด้วยกัน? Introduction to PMQA
Public Sector Management Quality Award ระบบคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ Introduction to PMQA
ที่มาของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPublic Sector Management Quality Award - PMQA • พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546 • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - 2550) • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย Introduction to PMQA
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 + • เกิดประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • ประสิทธิภาพและคุ้มค่า • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ปรับปรุงภารกิจให้ทันสมัย • อำนวยความสะดวกประชาชน • ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การปรับเปลี่ยนกระบวนการและ วิธีการทำงานเพื่อยกระดับขีด ความสามารถและมาตรฐาน การทำงานของหน่วยราชการให้อยู่ ในระดับเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยยึดหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) Introduction to PMQA
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการนำกรอบการดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รวมทั้งหลักเกณฑ์ และแนวคิดของรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) และ Thailand Quality Award (TQA) มาศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ เพื่อพัฒนาเป็นเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และนำเกณฑ์ดังกล่าวไปส่งเสริมให้ส่วนราชการใช้ในการยกระดับและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นการดำเนินงาน ที่สอดรับกับกลยุทธ์หลักในการสร้างความเป็นเลิศในระบบราชการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาระบบราชการของแผน การบริหารราชการแผ่นดิน(2546-2550) Introduction to PMQA
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ Introduction to PMQA
ที่มาของเกณฑ์ Introduction to PMQA
รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศรางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ Introduction to PMQA
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติThailand Quality Award Introduction to PMQA
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Introduction to PMQA
รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศรางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Canada USA Australia EU Singapore Japan Thailand • Canada Award (1984) • Malcolm Baldrige National Quality Award (1987) • Australian Business Excellence Awards (1988) • European Foundation Quality Management (1991) • Singapore Quality Award (1994) • Japan Quality Award (1995) • Thailand Quality Award (2001) Introduction to PMQA
รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศรางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Introduction to PMQA
วัตถุประสงค์ของรางวัลคุณภาพการจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์ของรางวัลคุณภาพการจัดการภาครัฐ Introduction to PMQA
European Public Sector Award (EPSA) • เพื่อกระตุ้นการแลกเปลี่ยนของ Best Practices และกระบวนการพัฒนาองค์กรไปสู่ความทันสมัย • สร้างเวทีสำหรับการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ • เชิดชูและให้กำลังใจแก่องค์กรภาครัฐทั้งหลายที่มีความสามารถในการบริหารจัดการจนได้รับผลลัพท์ที่ดีเยี่ยมจากการปรับปรุงอย่างเป็นระบบ Introduction to PMQA
Baldrige – Public Sector • เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับโครงสร้างของระบบการนำ • สร้างองค์กรและยุทธศาสตร์การบริหารที่ดีและทำงานได้ • ใส่ใจกับคุณประโยชน์ของลูกค้า (ได้แก่ ประชาชนและผู้เสียภาษี) • ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและสารสนเทศที่มีอยู่ • ปรับปรุงการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล • เปลี่ยนความคิดจากแค่เพียงทำงานมาสู่การมุ่งเน้นผลลัพท์ Introduction to PMQA
เหตุผลที่นำ PMQA มาใช้ • เกณฑ์ PMQAมุ่งเน้นแนวทางการบริหารจัดการในทิศทางที่เป็นเลิศเช่นเดียวกับหน่วยงานภาครัฐในประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งหลาย • คำนึงถึงสังคมและประโยชน์ของประชาชน • ให้อิสรภาพแก่องค์กรในการเลือกใช้วิธีการต่างๆที่นำไปสู่ความเป็นเลิศโดยไม่จำเป็นต้องเหมือนกับของคนอื่น • พิสูจน์ความสำเร็จโดยดูจากผลลัพธ์และข้อมูล • สนับสนุนการเรียนรู้และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง Introduction to PMQA
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความเชื่อมโยงของระบบจัดการเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Introduction to PMQA Knowledge Management MIS e-government
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา Introduction to PMQA
แนวคิดคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแนวคิดคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ภาครัฐ ภาคเอกชน วางยุทธศาสตร์ รางวัลคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ (TQA) • ให้มีการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • สร้างกลไกการผลักดัน การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กับการวัดผลสัมฤทธิ์ครอบคลุม 4 มิติ และให้มีการทำคำรับรองฯ นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ เกณฑ์คุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) • ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี/รายปี • วางวิธีการจัดสรรงบประมาณ • การปรับแต่งองคาพยพของระบบราชการ: • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน • เพื่อผลักดันการทำงานตามยุทธศาสตร์ MBNQA TQA + พรฎ. GG การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ • วางระบบให้มีการประเมินผลตนเอง การตรวจสอบผลการดำเนินการตามคำรับรอง การวางระบบการบริหารการเงิน การคลัง (GFMIS)
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย ระยะที่ 1(พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) Introduction to PMQA
ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) Introduction to PMQA
ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) ต่อ Introduction to PMQA
ผลการพัฒนาระบบราชการไทยตามแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) ต่อ Introduction to PMQA
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการ 2551-2555 Introduction to PMQA
วิสัยทัศน์ใหม่ปี 2551 - 2555 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้กำหนดวิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการ ในช่วงระยะที่ 2ปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555 ไว้ดังต่อไปนี้ ระบบราชการไทยมุ่งเน้นประโยชน์สุขของประชาชน และรักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ มีขีดสมรรถนะสูง สามารถเรียนรู้ ปรับตัวและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ยึดมั่นในหลักจริยธรรมและธรรมาภิบาล Introduction to PMQA
แนวทางดังกล่าวมาจากการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันตามIMDแนวทางดังกล่าวมาจากการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันตามIMD Introduction to PMQA
WCI Methodology • Economic performance • Government efficiency • Business efficiency • Infrastructure Introduction to PMQA
The Breakdown of Competitiveness Factors Economic Performance Government Efficiency Business Efficiency Infrastructure Domestic Economy Public Finance Productivity Basic Infrastructure Labor Market International Trade Fiscal Policy Technological Infrastructure Finance Institutional Framework International Investment Scientific Infrastructure Management Practices Business Legislation Employment Health and Environment Attitudes and Values Prices Societal Framework Education Introduction to PMQA Source: IMD
ความสามารถในการแข่งขันระดับโลกความสามารถในการแข่งขันระดับโลก Introduction to PMQA
ความสามารถในการแข่งขันของไทยความสามารถในการแข่งขันของไทย Introduction to PMQA
Comment from GCI • Thailand, ranked 34th, has fallen 6 places since last year. The country derives certain competitive strengthsfrom its market size as well as the efficiency of its labor market (ranked 13th), the result of strong cooperation in labor-employer relations (ranked 17th) and low non-wage labor costs (ranked 20th), for example. The country’s infrastructure is also very good, particularly roads and air transport. But the country lags in techological readiness (66th), with low penetration rates for Internet use, broadband, and mobile telephones in particular. Introduction to PMQA
Comment from GCI • The health of Thailand’s workforce is another area of concern (ranked 76th), with high rates of HIV, tuberculosis, and malaria (ranked 108th, 96th, and 93rd, respectively), some aspects of the financial market also require attention especially concerns about the soundness of the banking sector. Given the political turmoil experienced over the past year, it is notable that the decline in the overall ranking this year can be traced in part to a weakening assessment of government institutions, with increasing concerns about the transparency of policy-making and public-sector efficiency more generally. Introduction to PMQA
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ 2551-2555 สามารถแยกออกได้เป็น 4 ประการ ดังนี้ 1. ยกระดับการให้บริการและการทำงาน เพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว 2. ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 3. มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถ ในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 4. สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม Introduction to PMQA
ประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด Introduction to PMQA
ประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด Introduction to PMQA