1 / 15

นายเพียร แก้วสวัสด ิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม

ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการให้ บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน). นายเพียร แก้วสวัสด ิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม. บทนำ. กล่าวถึง การดำเนินงานของบริษัท ฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เป็ น หน่วยงานที่มีบทบาทอย่างมากในการดำเนินงาน

benard
Download Presentation

นายเพียร แก้วสวัสด ิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการให้บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม

  2. บทนำ กล่าวถึง การดำเนินงานของบริษัทฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทอย่างมากในการดำเนินงาน ด้านธุรกิจ บริษัทโอที จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นธุรกิจที่มีลักษณะของการ ให้บริการประชาชนด้านบริการสื่อสารโทรคมนาคม รูปแบบสินค้าและ บริการที่ดำเนินงาน เช่น โทรศัพท์ พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์ สาธารณะ ผู้วิจัยจึงได้ทำการวิจัยเชิงสำรวจความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อ การให้บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)

  3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการเพื่อศึกษาความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการ ให้บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีต่อการให้ บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุของ พนักงานจำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร 2.

  4. สมมุติฐาน ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการด้านพัสดุของพนักงาน จำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์แตกต่างกัน

  5. พนักงานที่ใช้บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหาร พัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) สังกัดด้านบริการลูกค้านครหลวง จำนวนพนักงานทั้งสิ้น 5,846 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นพนักงานบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) สังกัดด้าน บริการลูกค้านครหลวงสุ่มเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 360 คน ซึ่งได้มาจากการเปิดตารางขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (simple random sampling) 1. ประชากร 2. กลุ่มตัวอย่าง

  6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความ พึงพอใจ 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการ 3. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารพัสดุ 4. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ได้ศึกษา

  7. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการ ให้บริการด้านพัสดุ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยว กับการให้บริการ

  8. ข้อมูลทั่วไป และ ความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบความพึงพอใจของพนักงานต่อการให้บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ด้านต่างๆ จำแนกตามเพศ โดยใช้ค่า t-test ความถี่ และร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x) เปรียบเทียบความพึงพอใจของพนักงานต่อการให้บริการด้านพัสดุของฝ่ายบริหารพัสดุ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ด้านต่างๆ จำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์ โดยใช้ค่า F-test ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน SD)

  9. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐานสถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-test และ Tukey’s HSD test ดังนี้

  10. วิเคราะห์ความพึงพอใจ 1. ค่าเฉลี่ย สูตร X = Σfx n X = ค่าเฉลี่ย Σfx = ผลรวมของผลคูณระหว่างความถี่ กับคะแนน n = จำนวนกลุ่มตัวอย่าง

  11. วิเคราะห์ความพึงพอใจ

  12. การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย

  13. การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว F-test สูตร F = MSb MSw F = อัตราส่วนของความแปรปรวน (variance ratio) MSb = ค่าเฉลี่ยความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม MSw = ค่าเฉลี่ยความแปรปรวนภายในกลุ่ม

  14. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐานสถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน

  15. สวัสดี นายสมบัติ พิมพ์จันทร์ ป.โท สาขาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา

More Related