780 likes | 969 Views
การบริหารความเสี่ยง. มีนาคม 2549. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร. ตัวชี้วัดเลือกเพิ่มเติม. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร. ระดับคะแนน 5. ระดับคะแนน 4. ระดับคะแนน 3. ระดับคะแนน 2. ระดับคะแนน 1.
E N D
การบริหารความเสี่ยง มีนาคม 2549
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดเลือกเพิ่มเติม
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง มีคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงของการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ของส่วนราชการ โดยมีผู้บริหารระดับสูงและตัวแทนจากทุกหน่วยงานในสังกัดร่วมเป็นคณะกรรมการ หรือคณะทำงาน โดยผู้บริหารระดับสูงต้องมีบทบาทสำคัญ ในการกำหนดนโยบายหรือแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ระดับคะแนน 1
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง วิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ของส่วนราชการ จัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง ระดับคะแนน 2
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2549 ได้แล้วเสร็จ และจัดส่งมายังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยในแผนฯ ดังกล่าว ต้องมีการกำหนดมาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับบุคลากรทุกระดับของส่วนราชการในด้านการบริหารความเสี่ยงและการดำเนินการแก้ไข ลด หรือป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ระดับคะแนน 3
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน ระดับคะแนน 4
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 และมีการกำหนดแนวทาง/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงฯ ของส่วนราชการ สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 และได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ ระดับคะแนน 5
การบริหารความเสี่ยง Risk Management การบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง * การเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดความเสี่ยง * การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งแน่นอน * ความเสี่ยงเป็นความจริงที่เลี่ยงไม่ได้ - ในโลกธุรกิจ/การทำงาน - ในชีวิตจริง * ความเสี่ยงเป็นทั้งโอกาส และอุปสรรค - ได้รับความสำเร็จ หรือ - สร้างปัญหา/ความล้มเหลว - ขึ้นกับความเข้าใจในการจัดการ/บริหาร
ขั้นตอนความเข้าใจและการบริหารความเสี่ยง ภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดี Sophisticated- Sophisticated tools and techniques - Risk based rewards Sustainable Risk Management Practices - Strategic focus - embedded into processes RISK MANAGEMENT MATURITY Risk Assessments - Risk identification - Risk mitigation strategies ปัจจุบันองค์กรของท่านอยู่ในระดับใดของการจัดการ ? Awareness - Non-integrated risk practices - Policy statement
ระบบงาน กับ ความเข้าใจเพื่อ การบริหารความเสี่ยง ระบบหมายถึง : … ส่วนประกอบต่างๆ ที่ผสมผสาน ของ แนวความคิดเชิงกลยุทธ์ TOTAL SYSTEM APPROACH โครงสร้างของระบบงานต่างๆ ในองค์กร บุคลากร + ขั้นตอน IT + Manual + ผสมผสาน Input-Process-Output เพื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน
นิยามความเสี่ยง ความเสี่ยงโดยทั่วไปหมายถึง เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคต และอาจมีผลในด้านลบที่ไม่ต้องการ การตัดสินใจใดๆโดยไม่มีข้อมูล หรือการวางแผนจึงเป็นการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง ความเสี่ยงในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คือ เหตุการณ์ใดๆ ที่อาจเกิดภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย(ที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
ความเสี่ยงต่างๆ ของธุรกิจโดยทั่วไป : THE BUSINESS RISK SPECTRUM ความเสี่ยงจากลักษณะธุรกิจ (Inherent Risk) ความเสี่ยงจากระบบควบคุม (Control/Manage Risk) ความเสี่ยงจากวิธีการตรวจสอบ (Detection Risk)
ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงภายใน (ความเสี่ยงที่ควบคุมได้โดยองค์กร) - ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ - ความเสี่ยงด้านการเงิน และงบประมาณ - ความเสี่ยงด้านการจัดซื้อจัดจ้าง และบริหารสัญญา - ความเสี่ยงด้านบำรุงรักษา และบริหารจัดการระบบ - ความเสี่ยงด้านการบริหารงานบุคคล - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน • ความเสี่ยงภายนอก • (ความเสี่ยงที่ไม่สามารถ • ควบคุมได้โดยองค์กรเอง) • เศรษฐกิจ/สังคม/การเมือง/ • กฏหมาย • - ภัยธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม • - สงคราม/การก่อการร้าย
นิยามระบบบริหารความเสี่ยงนิยามระบบบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการดำเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหายเพื่อให้ระดับของความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่สามารถรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ของหน่วยงานราชการเป็นสำคัญ
วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยงวัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยง ก่อนการสูญเสีย - เป็นการเตรียมการขององค์กรเพื่อวางแผนป้องกันความสูญเสีย - ลดความกังวลของพนักงานและผู้บริหารที่อาจมีผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง หลังการสูญเสีย - เป็นการวางแผนเพื่อรองรับเหตุการณ์เมื่อเกิดความสูญเสียขึ้น
แนวทางการบริหารความเสี่ยงแนวทางการบริหารความเสี่ยง 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง 2.1 จัดหาทีมงาน 2.2 ให้แนวทางในการทำงาน 2.3 สนับสนุน 3. ทีมงานพิจารณาและประชุมสรุปงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ 4. ทีมงานดำเนินงานตามวงจรบริหารความเสี่ยง 5. รายงานข้อมูล และสรุปผลการใช้กระบวนการบริหารความเสี่ยง
1 2 4 3 วงจรบริหารความเสี่ยง ระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง ติดตามและทบทวน จัดการความเสี่ยง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
วิเคราะห์ขั้นตอนของแผนวิเคราะห์ขั้นตอนของแผน ระบุความเสี่ยง การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ระบุสาเหตุของความเสี่ยง
การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) • ศึกษา และทบทวนเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง • ระดมความคิดจากผู้บริหารและบุคคลที่เกี่ยวข้อง • สัมภาษณ์ผู้ที่มีผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ปฏิบัติงานในแต่ละแผนงาน • ศึกษาข้อมูลหรือผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการในอดีต
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • โอกาสที่จะเกิดความเสียหาย คือการพิจารณาว่าปัจจัยเสี่ยงมีโอกาสที่จะเกิดในระดับมากน้อยเพียงใด • ความเสียหายที่จะกระทบต่อองค์กร หรือ แผนปฏิบัติราชการ คือการนำปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัยมาพิจารณาว่าหากเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อหน่วยงานมากน้อยแค่ไหน • ความสำคัญของความเสี่ยงที่องค์กรเผชิญอยู่ คือการลำดับความสำคัญของแต่ละปัจจัยเสี่ยงเพื่อพิจารณาว่าความเสี่ยงใดควรพิจารณาจัดการก่อนหลัง
ตัวอย่าง โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง
ตัวอย่าง โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง
ตัวอย่าง ผลกระทบต่อองค์กร (ด้านการเงิน)
ตัวอย่าง ผลกระทบต่อองค์กร (ด้านเวลา)
ตัวอย่าง ผลกระทบต่อองค์กร (ด้านชื่อเสียง)
การจัดลำดับความเสี่ยงการจัดลำดับความเสี่ยง • รวมคะแนนระหว่างโอกาสที่จะเกิดกับความเสียหายเพื่อจัดลำดับความสำคัญ และใช้ในการตัดสินใจว่าความเสี่ยงใดควรเร่งจัดการก่อน • จัดทำแผนภูมิความเสี่ยงเพื่อให้ผู้บริหารและคนในองค์กรได้เห็นภาพรวมว่าความเสี่ยงมีการกระจายตัวอย่างไร
มาก ผลกระทบ น้อย น้อย มาก โอกาสที่จะเกิด แผนภูมิความเสี่ยง (Risk Map)
แผนภูมิความเสี่ยง (Risk Map) 5 4 สูง มาก ผล กระ ทบ 3 สูง 2 ปาน กลาง 1 ต่ำ 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิด
การติดตามและทบทวนความเสี่ยงการติดตามและทบทวนความเสี่ยง ความเสี่ยง ก่อนจัดการ ความเสี่ยง ที่ถูกจัดการ ความเสี่ยง ที่ถูกจัดการ ความเสี่ยง ที่เหลือ การจัดการ หลังทบทวน ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ จัดการความเสี่ยง ติดตามทบทวน
Risk Management Strategies • Risk Avoidance • Risk Elimination • Risk Minimization • Risk Transfer • Risk Acceptance • Contingency Planning
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาตร์ การบริหารความเสี่ยง วิสัยทัศน์ / พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงที่กำหนดยุทธศาสตร์ผิดพลาด เป้าประสงค์ ประเมินโอกาสที่จะเกิด และระดับความรุนแรง ของความเสี่ยง ความเสี่ยงที่การดำเนินงานจะไม่บรรลุ เป้าประสงค์ แนวทางในการตอบ สนองต่อความเสี่ยง ตัวชี้วัด โครงการ ความเสี่ยงที่โครงการจะไม่ประสบผลสำเร็จ
การบริหารความเสี่ยงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • เป็นการบริหารความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ที่ปรากฏในแผน • เน้นการบริหารความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ 2549 ที่ได้รับงบประมาณ • เนื่องจากมี โครงการ/กิจกรรม จำนวนมาก อาจกำหนดหลักเกณฑ์กลั่นกรอง โครงการ/กิจกรรม ที่มีความสำคัญสูง และ/หรือ ใช้งบประมาณจำนวนมาก และ/หรือ เชื่อมโยงกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัดสูง • ในรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ควรให้มีความเชื่อมโยงกับการบรรลุในเป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ด้วย
ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 ประการคือ • การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • การพัฒนาเพื่ออนาคต
ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ พัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตให้ครบวงจร และสามารถแข่งขันเข้าสู่ระดับสากล โดยเริ่มตั้งแต่ระบบการผลิตการประกันคุณภาพ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การบริหารการเงินและการตลาด เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันตลาดโลกแนวทางดำเนินการโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อยกระดับความสามารถการแข่งขัน มีเป้าหมายหลักคือพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตไทยให้เข้าสู่การค้าสากล โดยอาศัยกระบวนการปรับโครงสร้างการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งระบบ และกำหนดแผนงานหลักไว้ 5 แผนงานได้แก่ 1. แผนงานการพัฒนาและปรับปรุงส่วนการผลิตให้ทันสมัย 2. แผนงานยกระดับมาตรฐานกิจการและผลิตภัณฑ์ให้เป็นระบบสากล (ISO, QS หรืออื่นๆ) 3. แผนงานเพิ่มความสามารถทางการวางแผนและจัดการเทคโนโลยี 4. แผนงานเสริมสร้างความสามารถทางการบริหารการเงินและการลงทุน 5. แผนงานเพิ่มสมรรถนะการจัดการเชิงกลยุทธ์และการตลาดในและต่างประเทศในแต่ละแผนงานนั้นได้มีการจัดเตรียมผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากหน่วยงานภายนอกเพื่อเป็นที่ปรึกษาตลอดกระบวนการปรับปรุงโครงสร้างของธุรกิจตั้งแต่การฝึกอบรมให้ความรู้ต่างๆ การวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานของธุรกิจในปัจจุบัน ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมกันกำหนดแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาธุรกิจให้มีศักยภาพในการแข่งขันมากขึ้น ติดตามควบคุมการปฏิบัติตามแผนงานและให้ความช่วยเหลือเมื่อพบอุปสรรคในการดำเนินการ รวมทั้งประเมินและสรุปผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาธุรกิจต่อไปในระยะยาว รวมระยะเวลาโครงการประมาณ 1 ปี
ตัวอย่าง ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์ และจัดสัมมนาแนะนำโครงการ 2. รับสมัครและคัดเลือกกิจการที่มีความพร้อมเข้าร่วมโครงการโดยการสัมภาษณ์ เยี่ยมชม และวิเคราะห์ข้อมูลของกิจการ 3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/สัมมนาผู้บริหารกิจการที่ได้รับเลือกเข้าร่วมโครงการเพื่อปรับฐานความเข้าใจ และสร้างพันธมิตรระหว่างกัน 4. ที่ปรึกษาวิเคราะห์สภาพการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน เพื่อศึกษาสภาพปัญหา จุดแข็ง จุดอ่อน ความต้องการของกิจการ และร่วมกันกำหนดแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาต่อไป 5. จัดฝึกอบรมเพื่อต่อยอดความรู้ให้แก่พนักงานและผู้บริหาร 6. ให้คำปรึกษาแนะนำแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาทั้ง 5 แผนงาน 7. วิเคราะห์ประเมินผลในการปฏิบัติงาน 8. ประเมินและสรุปผลที่ได้จากโครงการเพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนาของกิจการในอนาคต
ตัวอย่างตารางระบุความเสี่ยง (เอกสารแนบ ตารางที่ 1)
การประเมินความเสี่ยง • การประเมินความถี่/โอกาสที่จะเกิด โดยทั่วไปอาจใช้สถิติและข้อมูลในอดีต แต่ควรใช้การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงขององค์กรโดยรวมร่วมด้วย รวมทั้งการวิเคราะห์ภายใต้สถานการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด (scenario analysis) เพื่อให้สมเหตุสมผลยิ่งขึ้น • การประเมินความรุนแรง นอกจากพิจารณาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นต่อองค์กรแล้ว ควรให้ความสำคัญแก่ผลกระทบต่อองค์กรอื่นๆ ชุมชน หรือผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบด้วย
ตัวอย่างตารางประเมินความเสี่ยง (เอกสารแนบ ตารางที่ 2)
การจัดการความเสี่ยง ทำการวิเคราะห์ถึงต้นทุนและประโยชน์ที่จะได้รับภายใต้ทางเลือกระหว่าง การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง การถ่ายโอนความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยง ตัวอย่างตารางสรุปทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดการความเสี่ยง (เอกสารแนบ ตารางที่ 3)