300 likes | 468 Views
การประชุมชี้แจง การจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของส่วนราชการจังหวัดปัตตานี. วันที่ 6 กรกฎาคม 2549 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดปัตตานี.
E N D
การประชุมชี้แจง การจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของส่วนราชการจังหวัดปัตตานี
วันที่ 6 กรกฎาคม 2549 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดปัตตานี
กรอบมิติการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการจังหวัดปัตตานี ปี 2549
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ น้ำหนัก 40-60 มิติที่ 2 ด้านคุณภาพให้บริการ น้ำหนัก 10-20 มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก 10-20 มิติที่ 4 ด้านพัฒนาองค์กร น้ำหนัก 20-40 รวม 100
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจของส่วนราชการ 40-60 1 การดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด (345 ล้านบาท) 2 การดำเนินงานโครงการตามงบปกติ 3 การดำเนินงานโครงการตามงบปกติเงินที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี (พ.ศ. 2546, พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2548) 4 การดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด 5 การดำเนินงานตามที่รับมอบหมาย (KPI) 6 การดำเนินงานตามกรอบคำรับรองที่ส่วนราชการกำหนด
มิติที่ 2 ด้านคุณภาพให้บริการ 10-20ความพึงพอใจของประชาชนต่อส่วนราชการ
มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 10-20 (สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ) 3.1 การเบิกจ่ายเงินกันปี 2546,2547,2548 3.2 การเบิกจ่ายงบปกติ 3.3 ความประหยัดของงบประมาณที่ไช้ในการปฏิบัติ ตามที่ กบจ.ปน./ ผู้บริหารสั่งการ/มอบหมาย 3.4 ความสามารถในการปฏิบัติราชการตาม พรฎ. บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และ สร.ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 25418
มิติที่ 4 การบริหารจัดการ การประยุกต์นโยบาย 20-40 ความรู้ใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานจังหวัด/ การนำไปสู่การปฏิบัติ หรือ กิจกรรมอย่างอื่นที่คล้ายคลึงกัน/ เกื้อกูลกัน 4.1 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงและการแปลงไปสู่การปฏิบัติ 4.2 การบริหารแผนความเสี่ยง 4.3 การประยุกต์งาน กรม กระทรวง จังหวัด และเทคโนโลยีมาใช้ใน การปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ 40-60 1.1 การดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด (345 ล้านบาท)หมายถึง การดำเนินงานโครงการที่ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (แผนปฏิบัติราชการ) ที่กำหนด (ปี 2548-2551) หรือโครงการ/กิจกรรมที่เกิดการประยุกต์ การบริหารจัดการ ที่สนองตอบเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ งบกลาง(345 ล้านบาท) ในจังหวัด ที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณก่อนวันที่ 1 สิงหาคม2549 เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ 40-601.2 การดำเนินงานตามโครงการตามงบปกติ หมายถึง การดำเนินงานโครงการที่ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (แผนปฏิบัติราชการ) ที่กำหนด (ปี 2548-2551) ได้รับการสนับสนุนจาก กรม กระทรวง ทุกงบ (ยกเว้น 345 ล้าน) ที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณก่อน วันที่ 1 สิงหาคม 2549 เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ40-60 1.3 การดำเนินงานตามโครงการที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี (พ.ศ.2546,2547,2548) หมายถึง โครงการที่ส่วนราชการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีปีงบประมาณ (พ.ศ.2546,2547,2548) ทุกงบทุกโครงการ ยกเว้น โครงการที่ส่วนราชการเบิกแทน เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ40-60 1.4 การดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและ จังหวัดหมายถึง การดำเนินงานโครงการที่ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (แผนปฏิบัติราชการ) ที่กำหนด (ปี 2548-2551) ได้รับการสนับสนุนจาก ทุกแหล่งงบประมาณและทุกโครงการที่อนุมัติโครงการก่อนวันที่ 1 กันยายน 2549 เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ 40-60 1.5 การดำเนินงานตามที่มอบหมาย (KPI) หมายถึง 1.) การดำเนินโครงการงาน กิจกรรมหรืออื่นๆที่ กบจ.ปน ผู้ว่าราชการจังหวัดรวมถึงรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่สั่งการในนามผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายให้ดำเนินการ 2.) การดำเนินงานตามตัวชี้วัดปี 2549 ของจังหวัดที่จังหวัดมอบหมายส่วนราชการต่างๆรับผิดชอบ (32 ตัวชี้วัดหลัก) เกณฑ์การให้คะแนน
บทที่ 1 ประสิทธิผลความพันธกิจ 40-60 1.6 การดำเนินการตามตามกรอบคำรับรองที่ส่วนราชการกำหนด หมายถึง ความสำเร็จของการดำเนินงานตามคำรับรองที่ส่วนราชการ/หน่วยงาน/อำเภอได้กำหนด (เสนอให้จังหวัด) : เอกสารแนบ 1 ตามคำรับรอง ว่าสำเร็จเท่าใดถึงจะได้คะแนน 5 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนราชการกำหนดเอง
มิติที่ 2 คุณภาพการทำงานของส่วนราชการที่ 10-20 ตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ ความพึงพอใจของประชาชนต่อส่วนราชการ หมายถึง การจัดความพึงพอใจของประชาชน/ส่วนราชการ/หน่วยงาน ที่มีต่อหน่วยงาน โดยที่ส่วนราชการสามารถกำหนดตัวชี้วัดจำนวนกี่ตัวชี้วัดก็ได้ โดยพิจารณาจาก ภารกิจของส่วนราชการ/หน่วยงาน เป็นหลัก กรณีที่ส่วนราชการไม่มีข้อมูลพื้นฐาน ให้จัดเก็บข้อมูลปัจจุบันเป็นข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพด้านการปฏิบัติราชการ 10-20 ของส่วนราชการ (สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ) หมายถึง การวัดผลความสำเร็จในการบริหารจัดการขององค์กรที่สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพขององค์กร โดยพิจารณาจากประเด็นหลักๆ 4 ประเด็นคือ 3.1 การเบิกจ่ายเงินกันปี 2546,2547,2548 หมายถึง ความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินจากโครงการที่กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2526,2547,2548 ทุกงบทุกโครงการทุกช่องทาง ที่ดำเนินการหรือที่เบิกจากคลังจังหวัดปัตตานีหรือคลังจังหวัดอื่น ยกเว้น การเบิกแทน
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพด้านการปฏิบัติราชการ 10-20 ของส่วนราชการ (สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ) มิติที่ 3.1 การเบิกจ่ายเงินกันปี 2546,2547,2548 เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพด้านการปฏิบัติราชการ 10-20 ของส่วนราชการ (สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ) 3.2 การเบิกจ่ายงบปกติ หมายถึง ความสำเร็จในการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2549 ของหน่วยงาน (กรม กระทรวง ราชการส่วนกลาง) ที่ส่วนราชการรับผิด ชอบที่ดำเนินงานในพื้นที่ หรือเบิกแทนทั้งที่เบิกจ่ายเงินคลังจังหวัดปัตตานีและคลังจังหวัดอื่น ที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณก่อน วันที่ 1 สิงหาคม 2549 เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพด้านการปฏิบัติราชการ 10-20 ของส่วนราชการ (สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ) 3.3 ความประหยัดของงบประมาณที่ไช้ในการปฏิบัติ ตามที่ กบจ.ปน./ ผู้บริหารสั่งการ/มอบหมาย หมายถึง ความประหยัดและความรวดเร็วของงานที่ กบจ.ปน. ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี มอบหมาย/สั่งการให้ ปฏิบัติ ทั้งโดยตรงและเกี่ยวพันกับเรื่องที่ได้ สั่งการ/ดำเนินการมาก่อนโดยการเปรียบเทียบจำนวนงบประมาณที่จำเป็นต้อง ใช้(ถ้ามี)กับจำนวนงบประมาณที่ของบการสนับสนุนจากจังหวัด โดยพิจารณาดังนี้
3.3 ความประหยัดของงบประมาณที่ไช้ในการปฏิบัติ ตามที่ กบจ.ปน./ ผู้บริหารสั่งการ/มอบหมาย 1. สรุปผลการประชุมในเรื่องสำคัญๆเช่น ในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการชุดต่างๆ เป็นต้น 2. สรุปข้อมูลจากผู้บริหาร เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ความรวดเร็วทันเวลาที่กำหนดน้ำหนัก 50%
3.3 ความประหยัดของงบประมาณที่ไช้ในการปฏิบัติ ตามที่ กบจ.ปน./ ผู้บริหารสั่งการ/มอบหมาย ส่วนที่ 2 ความประหยัดงบประมาณน้ำหนัก 50%
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพด้านการปฏิบัติราชการ 10-20 ของส่วนราชการ (สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ) 3.4 ความสามารถในการปฏิบัติราชการตาม พรฎ. บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และ สร.ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 25418 หมายถึง1.)ความสามารถของการบริหารราชการของส่วนราชการตาม พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 20,23,25,27,37,38,39,41,44,47,52 2.) ความสามารถของการบริหารราชการของส่วนราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548
3.4 ความสามารถในการปฏิบัติราชการตาม พรฎ. บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และ สร.ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 25418 เกณฑ์การให้คะแนน เปรียบเทียบจำนวนเรื่องที่ต้องดำเนินการตามมาตราต่างๆตามคำรับรองคิดเป็น 100 % เทียบกับเรื่องที่ดำเนินการได้จริงกว่าน้ำหนัก อัตราส่วนแต่ละเรื่อง 50 : 50
มิติที่ 4 การบริหารจัดการ การประยุกต์นโยบาย 20-40 ความรู้ใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานจังหวัด/ การนำไปสู่การปฏิบัติ หรือ กิจกรรมอย่างอื่นที่คล้ายคลึง กัน/เกื้อกูลกัน หมายถึง การพัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการที่เกิดจากการฝึกฝนความรู้/ประยุกต์ ที่ได้รับการกรม กระทรวง ส่วนกลาง จากจังหวัด และที่มีอยู่ในองค์กร ทั้งในส่วนของตัวบุคคล เทคโนโลยี ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลหรือการสั่งสมประสบการณ์
มิติที่ 4 การบริหารจัดการ การประยุกต์นโยบาย 20-40 ความรู้ใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานจังหวัด/ การนำไปสู่การปฏิบัติ หรือ กิจกรรมอย่างอื่นที่คล้ายคลึง กัน/เกื้อกูลกัน 4.1 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงและการแปลงไปสู่การปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถที่มีส่วนราชการได้จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงประจำปี 2549 ทั้งในส่วนของงานปรกติ (กรม กระทรวง) ของจังหวัด/ประเด็นยุทธศาสตร์ปี 2549 และการแปลงโครงการไปสู่การปฏิบัติ รวมถึงความสำเร็จของแผนงานโครงการที่ปฏิบัติตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงที่ได้จัดทำเมื่อปี 2548 ตามคณะอนุกรรมการประเด็นยุทธศาสตร์เอาชนะความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิต
4.1 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงและการแปลงไปสู่การปฏิบัติ เกณฑ์การให้คะแนน
มิติที่ 4 การบริหารจัดการ การประยุกต์นโยบาย 20-40 ความรู้ใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานจังหวัด/ การนำไปสู่การปฏิบัติ หรือ กิจกรรมอย่างอื่นที่คล้ายคลึง กัน/เกื้อกูลกัน 4.2 การบริหารแผนความเสี่ยง หมายถึง การดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงของประเด็นยุทธศาสตร์ และโครงการต่าง ๆ
มิติที่ 4 การบริหารจัดการ การประยุกต์นโยบาย 20-40 ความรู้ใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารงานจังหวัด/ การนำไปสู่การปฏิบัติ หรือ กิจกรรมอย่างอื่นที่คล้ายคลึง กัน/เกื้อกูลกัน 4.3 การประยุกต์งาน กรม กระทรวง จังหวัด และเทคโนโลยีมาใช้ในการ ปฏิบัติราชการ หมายถึง ความสามารถในการประยุกต์งานต่างๆ ภายในส่วนราชการ ที่ได้รับมอบหมาย/การอบรม/เพิ่มพูนความรู้จาก กรม กระทรวง ส่วนกลาง หรือจังหวัด เพื่อบริหารให้งานต่างๆ ในความรับผิดชอบ/พันธกิจตามมิติที่ 1 ให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ การนำเทคโนโลยีมาใช้หรือเป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน และรวมถึงความสามารถในการนำเอาองค์ความรู้มาไช้ในการดำเนินงานของส่วนราชการเพื่อให้จังหวัด ให้สำเร็จในภาพรวม ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม (ทั้งในฐานะที่ปรึกษา คณะกรรมการ คณะทำงานหรือผู้ปฏิบัติ)
4.3 การประยุกต์งาน กรม กระทรวง จังหวัด และเทคโนโลยีมา ใช้ในการปฏิบัติราชการ เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนราชการกำหนดเอง
ขอขอบคุณ สวัสดี