140 likes | 318 Views
หลักเกณฑ์การคิดค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวเนื่องกับการฝากตราสารหนี้เป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน (Custody Fee for ILF). 27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย. หัวข้อบรรยาย. ความเป็นมา หลักการและวิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ สำหรับบัญชีเพื่อ ILF ที่ ธปท.
E N D
หลักเกณฑ์การคิดค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ที่เกี่ยวเนื่องกับการฝากตราสารหนี้เป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน (Custody Fee for ILF) 27 , 30 ตุลาคม 2549ธนาคารแห่งประเทศไทย
หัวข้อบรรยาย • ความเป็นมา • หลักการและวิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ สำหรับบัญชีเพื่อ ILF ที่ ธปท. • กำหนดเวลาในการเรียกเก็บ • ตัวอย่าง Invoice และรายละเอียดประกอบ
ประกาศที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ประกาศที่เกี่ยวข้องกับค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ ความเป็นมา • ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรื่อง ค่าธรรมเนียมและค่าปรับเกี่ยวข้องกับการใช้เงินสภาพคล่องระหว่างวัน ประกาศ ณ วันที่ 9 พฤษภาคม 2549 • หนังสือ ของบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด (TSD)ที่ ศร.(ว) 958/2549 ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2549 ประกอบด้วย • วิธีปฏิบัติบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เรื่องอัตราค่าธรรมเนียมค่าใช้จ่ายและค่าปรับที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในงานศูนย์รับฝาก (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2549 • หลักการคำนวณค่าธรรมเนียมการรักษาหลักทรัพย์ • ตัวอย่างการคิดค่าธรรมเนียมการรักษาหลักทรัพย์ประเภทที่มีอายุการรับฝากน้อยกว่า 1 เดือน
อัตราค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ (ต่อเดือน) ความเป็นมา • ค่าธรรมเนียมของหลักทรัพย์ (ขั้นต่ำ) ที่ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมายLiquidity reserve rate ล้านละ 0.25 ของยอดหลักทรัพย์(ขั้นต่ำ) ที่ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมาย • ค่าธรรมเนียมเป็น Tier rate • 0 3 หมื่นล้านบาท = ล้านละ 0.75 • > 3 หมื่นล้านบาท 5หมื่นล้านบาท = ล้านละ 0.50 • > 5 หมื่นล้านบาทขึ้นไป = ล้านละ 0.25
บัญชีที่คิดค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์บัญชีที่คิดค่าธรรมเนียมการเก็บรักษาหลักทรัพย์ TSD A B C PSG BOT-ILF BOT-RP BOT-Retail A A B B C C เสียค่าธรรมเนียมให้ TSD ..n D เสียค่าธรรมเนียมให้ ธปท.- บัญชี ILF ของสมาชิกแต่ละราย- บัญชี RP ของสมาชิกแต่ละราย ..n
หลักการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ สำหรับบัญชีเพื่อ ILF ที่ ธปท. • ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ในบัญชี ILF ของสมาชิกแต่ละราย เพื่อนำไปคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ (ตามวิธีประเมินของ TSD) • คำนวณหลักทรัพย์(ขั้นต่ำ) ที่ดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมาย (Liquidity reserve)ของแต่ละสถาบัน - ฐานเงินฝาก (งวดที่ 2 ของเดือนก่อนหน้า) คูณ 2.5%(เช่น คิดค่าธรรมเนียมเดือน พ.ย. จะใช้ฐานเงินฝากวันที่ 8-22 ของเดือน ตุลาคม) • คำนวณค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ - Liquidity reserve rate (ถ้ามียอดหลักทรัพย์ที่ดำรงฯ ตามข้อ 2) - Tier rate • การคิดค่าธรรมเนียมของยอดหลักทรัพย์(ขั้นต่ำ) ที่ต้องดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องฯ ของแต่ละสถาบัน • คำนวณจากบัญชี ILF เป็นลำดับแรก • ถ้ายังมียอดเกินจากมูลค่าหลักทรัพย์ในบัญชี ILF ธปท. จะนำไปคำนวณต่อให้สมาชิกในบัญชี RP • ถ้ายังมียอดเกินจากมูลค่าหลักทรัพย์ในบัญชี RP ธปท. จะแจ้งยอดส่วนที่เกินให้ TSD เพื่อให้นำไปคำนวณต่อใน TSD port (proprietary portfolio account) • แจ้งยอดค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ใน “ใบแจ้งเรียกเก็บค่าธรรมเนียมบาทเนต”
วิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ของสมาชิกแต่ละรายวิธีการคำนวณค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ของสมาชิกแต่ละราย 1.ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อคำนวณค่าธรรมเนียม - อายุการฝากเต็มเดือน - อายุการฝากน้อยกว่า 1 เดือน ฐานเงินฝาก คูณ2.5 % A. 2. มูลค่าหลักทรัพย์รวมที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ B. มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมาย Liquidity reserve 3. คำนวณมูลค่าหลักทรัพย์ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ แต่ละอัตราโดย (2) มูลค่าหลักทรัพย์รวม หัก(B) มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ดำรงฯถ้า (B) มากกว่า (2) ธปท.จะนำส่วนที่เกินไปคิดต่อให้ในบัญชี RP ถ้ายังมีส่วนเกินอีก จะแจ้ง TSD ให้ไปคิดต่อใน TSD port 4. Invoice บวก คิด Tier rate เฉพาะส่วนที่เกินยอดที่ต้องดำรง คิด reserverate เฉพาะส่วนที่ดำรงได้ใน ILF 6
ตัวอย่างการคำนวณ กรณี หลักทรัพย์ใน ILF มากกว่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve • 1. ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อคำนวณค่าธรรมเนียม • ISIN A 15 วัน (Face value x 15/30) = X1 • ISIN B 12 วัน (Face value x 12/30) = X2 -ISIN C 30 วัน (Face value) = X3-ISIN D 30 วัน (Face value)=X4 A. คูณ 2.5 % 4 แสนล้าน คูณ 2.5 % ฐานเงินฝาก B. มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve= 1 หมื่นล้าน 2. มูลค่าหลักทรัพย์รวม ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์X1 + X2 + X3 + X4 = 5 หมื่นล้าน 3. คำนวณมูลค่าหลักทรัพย์ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ แต่ละอัตรา= 1 หมื่นล้าน เสียค่าธรรมเนียม Reserve rate = 4 หมื่นล้าน เสียค่าธรรมเนียม Tier rate 4. Invoice = 30,000 บาท สำหรับบัญชีเพื่อ ILF 3 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.75 = 22,500 บาท1 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.50 = 5,000 บาท Liquidity reserve 1 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.25 = 2,500 บาท บวก 7
ตัวอย่างการคำนวณกรณี หลักทรัพย์ใน ILF น้อยกว่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve • 1. ประเมินมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อคำนวณค่าธรรมเนียม • ISIN A 15 วัน (Face value x 15/30) = X1 • ISIN B 12 วัน (Face value x 12/30) = X2 -ISIN C 30 วัน (Face value) = X3-ISIN D 30 วัน (Face value)=X4 A. คูณ 2.5 % 6แสนล้าน คูณ 2.5 % ฐานเงินฝาก B. มูลค่าหลักทรัพย์ขั้นต่ำที่ต้องดำรง Liquidity reserve= 1.5 หมื่นล้าน 2. มูลค่าหลักทรัพย์รวม ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์X1 + X2 + X3 + X4 = 1 หมื่นล้าน 3. คำนวณมูลค่าหลักทรัพย์ที่ต้องเสียค่าเก็บรักษาหลักทรัพย์ แต่ละอัตรา= 1 หมื่นล้าน เสียค่าธรรมเนียม Reserve rate (ไม่เกินมูลค่ารวมที่มีใน ILF)นำ 5 พันล้าน ไปคำนวณต่อให้ใน RP และถ้ายังมีเหลืออีกจะแจ้ง TSD เพื่อไปคิดต่อใน TSD Port 4. Invoice = 2,500 บาท สำหรับบัญชีเพื่อILF ไม่มีค่าธรรมเนียม Tierrate Liquidity reserve 1 หมื่นล้าน คูณ ล้านละ 0.25 = 2,500 บาท บวก 8
กำหนดเวลา • TSD ยกเว้นค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์เป็นระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันเริ่มใช้ระบบ (15 พ.ค. 49 – 14 พ.ย. 49) • เริ่มคิดค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ เดือน พฤศจิกายน 2549 ครั้งแรกคิด 16 วัน (15-30 พฤศจิกายน 2549) • เรียกเก็บค่าธรรมเนียมเก็บรักษาหลักทรัพย์ พร้อมกับค่าธรรมเนียมบาทเนต วันที่ 7 ของเดือนถัดไป • สมาชิกสามารถเรียกดู Invoice ได้ประมาณวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
ตัวอย่าง Invoice และรายละเอียดประกอบ
ตัวอย่าง Invoice และรายละเอียดประกอบ