1 / 28

สรุปรายงานประจำปี 25 46-2549 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

สรุปรายงานประจำปี 25 46-2549 คณะอุตสาหกรรมเกษตร. มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตรระดับสากล เพื่อรับใช้สังคมอย่างมีคุณภาพ. http://agro.psu.ac.th. 1. 2. ด้านการจัดการศึกษา. ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา. 3. ด้านการบริการวิชาการ. 4. ด้านการทำนุบำรุงวัฒนธรรม. 5.

trixie
Download Presentation

สรุปรายงานประจำปี 25 46-2549 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปรายงานประจำปี 2546-2549 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตรระดับสากล เพื่อรับใช้สังคมอย่างมีคุณภาพ http://agro.psu.ac.th

  2. 1 2 ด้านการจัดการศึกษา ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา 3 ด้านการบริการวิชาการ 4 ด้านการทำนุบำรุงวัฒนธรรม 5 ด้าน ค.ร่วมมือกับต่างประเทศ 6 ด้านการประกันคุณภาพ 7 8 ด้านการบริหารจัดการ ผลงานและบุคลากรเด่น สารบัญนำเสนอ http://agro.psu.ac.th

  3. คณะอุตสาหกรรมเกษตร ได้รับจัดตั้งขึ้นเป็นคณะ โดยประกาศในราชกิจฯ (7 ก.พ.2538) http://agro.psu.ac.th

  4. ด้านการจัดการศึกษา (1) หลักสูตร ปี 49 เปิดสอน 14 หลักสูตร ป.ตรี 3 หลักสูตร ป.โท 7 หลักสูตร ป.เอก 4 หลักสูตร คณะเป็นแกนนำร่วมกับ ม.ในประเทศอีก6 ม. เปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตด้านอก. ร่วมกับม.ต่างประเทศ 12 สถาบัน ปรับปรุงหลักสูตรที่มีการใช้ครบ 5 ปี http://agro.psu.ac.th

  5. ด้านการจัดการศึกษา (2) นศ.ใหม่ 196 คน (คน, % ) ผู้สำเร็จ 143 คน (คน, % ) นศ.ทั้งหมด 647 คน (คน, % ) Retention time ระดับป.โท Research Programs 3.3 ปี ระดับป.เอก 5.7 ปี ปี 50 มี นศ.ต่างชาติ รวม 13 คน ป.เอก 4 คน (อินเดีย จีน และเวียดนาม ปี 50 รวม 3 คน) ป.โท 9 คน (อินโดนิเชีย ปี 50 ทั้งหมด) http://agro.psu.ac.th

  6. ด้านการจัดการศึกษา (3) ภาระงานสอนคิดเป็นนศ.เต็มเวลารวม391.8 FTES อัตราส่วน อ. : ต่อนศ. เต็มเวลา เป็น 1 : 10.6 (เกณฑ์ม.1 : 15) ค่าใช้จ่ายต่อหัวนศ.เต็มเวลาจากงบดำเนินการ เป็น 17,612 บาท/คน/ปี ภาระงานอาจารย์ รุ่นปี 2549 (สำรวจ 20 ก.ย.50) สำเร็จ 97 คน ตอบแบบฯ 93 คน ทำงานแล้ว 68.8% ศึกษาต่อ 18.3% ยังไม่ทำงานและอื่นๆ 12.9% บัณฑิตทำงานแล้ว ส่วนใหญ่เป็น พ.บริษัท/เอกชนและดำเนินธุรกิจอิสระ 87.5% ทำงานอยู่ในภาคใต้ 89.2% เงินเดือนโดยเฉลี่ย 11,865 บาท ภาวะการ หางานทำ รุ่นปี 2548 (สำรวจ มิ.ย.50) พบว่า ภาพรวมนายจ้าง มีค.พึงพอใจมาก (7.35 จาก 10) พิจารณารายด้านได้แก่ ด้านคุณธรรม ด้านบุคลิกภาพ ด้านวิชาชีพ และความรู้ทั่วไป (7.91, 7.48, 7.10 และ 7.10) ค.พึงพอใจ นายจ้าง http://agro.psu.ac.th

  7. ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา (1) ผลิตภัณฑ์จากแหล่งน้ำ ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีน้ำมันปาล์ม อาหารสุขภาพ อาหารฮาลาล พอลิเมอร์ชีวภาพและบรรจุภัณฑ์ เน้น 5 ด้านหลัก ผลจาก จุดเน้น เกิดสถานวิจัยผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สถานวิจัยผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีน้ำมันปาล์ม คณะมีโครงการสร้างความเข้มแข็งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการสาขาอุตสาหกรรมเกษตร (2545-2549) ตามที่มหาวิทยาลัยได้ประกาศนโยบายสนับสนุนการวิจัยและระบบบัณฑิตศึกษา โครงการ ค.เป็นเลิศ http://agro.psu.ac.th

  8. ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา (2) จำนวนโครงการวิจัยปี 46-49 เงินวิจัย ปี 46-49 (หน่วย : ลบ.) เงินวิจัย:อาจารย์เป็น 778,677 บาท/คน/ปี International Papers เป็น 2 papers/คน/ปี National Papers เป็น 1.2 papers/คน/ปี อาจารย์ Active งานวิจัย 100% http://agro.psu.ac.th

  9. ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา (3) ตีพิมพ์ในวารสาร (เรื่อง) นำเสนอที่ประชุม (เรื่อง) ผลงานนำไปใช้ประโยชน์ในชุมชน (เรื่อง) ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร ปี 2545 จำนวน 1 เรื่อง ปี 2547 จำนวน 3 เรื่อง ปี 2549 จำนวน 2 เรื่อง http://agro.psu.ac.th

  10. ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา (4) ตีพิมพ์ในวารสาร (เรื่อง) ผลงานของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา จำนวนวิทยานิพนธ์ (เรื่อง) http://agro.psu.ac.th

  11. ศูนย์พัฒนา อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการส่งออก ศูนย์สอบเทียบ เครื่องมือวัด ด้านการบริการวิชาการ (1) หน่วยบริการวิชาการที่สำคัญ ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ จัดกิจกรรมบ่มเพาะธุรกิจภายใต้โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 11 การจัดหลักสูตรอบรมร่วมกับสถาบันอาหาร ผ่านโครงการศูนย์ประสานงานความร่วมมือเพื่อพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมอาหารและอาหารไทยสู่โลก (ภาคใต้) http://agro.psu.ac.th

  12. ด้านการบริการวิชาการ (2) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่ออุตสาหกรรม เฉลี่ย 5.5 ครั้ง/ปี (6, 4, 5 และ 7 ครั้ง) พัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ ผู้ใช้บริการเฉลี่ย 5.25 ราย/ปี (7, 6, 2 และ 6 ราย) ให้คำปรึกษาและเป็นที่ปรึกษาโครงการ เฉลี่ย 4.25 โครงการ/ปี (1, 5, 4 และ 7 โครงการ) ผลการดำเนินการปี 2546-2549 บริการเครื่องมือ/อุปกรณ์การแปรรูปในระดับผลิตทดลอง เฉลี่ย 22.5 ราย/ปี (8, 12, 33 และ 37 ราย) การตรวจวิเคราะห์ เฉลี่ย 714 ครั้ง/ปี (695, 740, 640 และ 781 ครั้ง) บริการสอบเทียบเครื่องมือวัด เฉลี่ย 785.5 เครื่อง/ปี (612, 678, 962 และ 890 เครื่อง) http://agro.psu.ac.th

  13. ด้านการบริการวิชาการ (3) กำไรสุทธิจากการบริการ (ลบ.) งบประมาณของการบริการวิชาการ (ลบ.) http://agro.psu.ac.th

  14. บูรณาการเข้ากับพันธกิจด้านการเรียนการสอน ในวิชาการแปรรูป การประกันคุณภาพและงานวิจัยเชิงลึก ยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้าน เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ด้านการทำนุบำรุงวัฒนธรรม ส่งเสริมให้เกิด ค.เข้าใจและค.ภาคภูมิใจในวิถีชีวิตและภูมิปัญญาไทย เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์จากตาลโตนดและส้มแขก โครงการ/กิจกรรม ปี 47-49 ปี 47 จำนวน 182 โครงการ/กิจกรรม (ค่าใช้จ่าย 66,141 บาท) ปี 48 จำนวน 107 โครงการ/กิจกรรม (ค่าใช้จ่าย407,172 บาท) ปี 49 จำนวน 170 โครงการ/กิจกรรม (ค่าใช้จ่าย 691,369 บาท) http://agro.psu.ac.th

  15. ด้านความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความร่วมมือกับต่างประเทศ นักศึกษาไปทำวิทยานิพนธ์ (Thesis) ต่างประเทศ จำนวน 11, 12 และ 7 คน โครงการ/กิจกรรมที่ทำร่วมกับต่างประเทศ 3, 3 และ 5 โครงการ โครงการวิจัยที่ทำร่วมกับชาวต่างประเทศ (Joint Research) ปี 2549 มี 1 โครงการ ผลการดำเนินการ ปี 47-49 บุคลากร/นักศึกษาของมหาวิทยาลัยที่ไปต่างประเทศ 9, 10 และ 15 คน จำนวน Co-advisors ที่เป็นชาวต่างประเทศ 22, 25 และ 23 คน นักศึกษาชาวต่างประเทศมาฝึกงาน/ทำวิจัยหรือศึกษาที่ ม. 3, 10 และ 1 คน ชาวต่างประเทศที่มาเยือนหรือปฏิบัติงานที่มหาวิทยาลัย 4, 13 และ 5 คน http://agro.psu.ac.th

  16. ด้านการประกันคุณภาพ ISO 9001: 1994 โดยการรับรอง UKAS (อังกฤษ) และ NAC (ไทย) 18 ส.ค.43 - 17 ส.ค. 46 ปัจจุบันยังใช้แนว ISO 9000 แต่ไม่ได้ขอการรับรอง • ระบบปัจจุบัน • ระบบของมหาวิทยาลัย • สมศ. การประกันคุณภาพ ผลการประเมินระดับคณะ ปี 48 ของสมศ. พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก (คะแนน 4.73 จากคะแนนเต็ม 5) โดยเฉพาะผลงานด้านการวิจัยและบริการวิชาการ http://agro.psu.ac.th

  17. ด้านการบริหารจัดการ (1) บุคลากร สัดส่วน ป.โท : ป.เอก เป็น 2.4 : 7.6 สัดส่วน อ. : ผศ. : รศ. : ศ. เป็น 6.2 : 2.4 : 1.1 : 0.3 http://agro.psu.ac.th

  18. ด้านการบริหารจัดการ (2) งบประมาณแผ่นดิน 36.7 ล้านบาท มีเงินรายได้สะสมเมื่อสิ้นงวด (49) 3.19 ล้านบาท รายจ่ายจากเงินรายได้ 8.43 ลบ. งบประมาณ (ลบ. , %) http://agro.psu.ac.th

  19. โครงการพัฒนาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรสู่ความเป็นเลิศโครงการพัฒนาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรสู่ความเป็นเลิศ ระยะเวลาของโครงการ 2545-2549 ลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างคณบดี อธิการบดี และนายกสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 10 ม.ค.45 ผลการดำเนินงานรวม 45-49 แผน ผล 1. การรับ นศ. บัณฑิตศึกษา (คน)298 219 2. วิทยานิพนธ์ นศ.บัณฑิตศึกษา (เรื่อง) 164 127 3. สนับสนุนทุนบัณฑิตศึกษา (จำนวนทุน) 140 101 4. สิ่งตีพิมพ์ที่ผลิตได้ (เรื่อง) 229 282 5. จำนวนทุน คปก. 45 19 http://agro.psu.ac.th

  20. โครงการพัฒนาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรสู่ความเป็นเลิศโครงการพัฒนาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรสู่ความเป็นเลิศ ระยะเวลาของโครงการ 2545-2549 ลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างคณบดี อธิการบดี และนายกสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 10 ม.ค.45 ผลการดำเนินงานรวม 45-49 แผน ผล 6. Paper ระดับนานาชาติ : อาจารย์1.4:11.45:1 7. Paper ระดับชาติ : อาจารย์1 : 11 : 1 8. สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร - 5 9. การใช้ประโยชน์ของงานวิจัย - 64 10. จำนวนทุกวิจัย (ล้านบาท) 26.2 70.09 11. ทุนวิจัยเฉลี่ยต่ออาจารย์ (บาท) 198,400 449,970 http://agro.psu.ac.th

  21. คณะ ผลงานและบุคลากรเด่น (1) ได้รับการคัดเลือกเป็นคณะที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในด้านการวิจัยในเรื่องผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ การประเมินคุณภาพผลงานทางด้านวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ สกว. คณะได้รับผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก (5) รวม 2 ตัวชี้วัด (จากทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัดที่ 1 ค.สามารถเฉลี่ยของ อ. ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับวารสารระดับนานาชาติ ตัวชี้วัดที่ 3 ค.สามารถของคณะในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับวารสารระดับนานาชาติ http://agro.psu.ac.th

  22. ศ.ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล อ.สุรสิทธิ์ ประสารปราน น.ส.ทิวาน์ จิตรพรหม ผลงานและบุคลากรเด่น (2) รางวัล Scientific achievement award, The American Biographical Institute : 500 Leaders of Science ปี 46 และอาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ ปี 48 ของ ม.อ. ผลงานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชน ปี 47 ม.อ. ประเภทรางวัลทั่วไปในผลงานวิจัยเรื่อง “ดินประดิษฐ์สำหรับงานดอกไม้” และรางวัลโครงการวิจัยดีเด่น จาก สกว. ปี 2548 เรื่อง “การพัฒนาถ้วยรับน้ำยางธรรมชาติและดินขาว” ได้รับคัดเลือกเป็นลูกจ้างชั่วคราวดีเด่น ม.อ. ปี 48 http://agro.psu.ac.th

  23. โครงการวิจัยมังคุด ผลงานและบุคลากรเด่น (3) โครงการวิจัยเด่น ปี 46-49 โครงการวิจัยน้ำมะม่วงหิมพานต์เข้มข้น โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สะตอ http://agro.psu.ac.th

  24. ผลงานและบุคลากรเด่น (4) โครงการวิจัยเด่น ปี 46-49 โครงการดินประดิษฐ์สำหรับงานดอกไม้ โครงการวิจัยผักแช่อิ่มในน้ำเกลือ โครงการอบรมการสร้างและใช้ตู้พลังงานแสงอาทิตย์และเชื้อเพลิง http://agro.psu.ac.th

  25. ผลงานและบุคลากรเด่น (5) โครงการวิจัยเด่น ปี 46-49 โครงการพัฒนาถ้วยรับน้ำยางโดยใช้น้ำยางธรรมชาติและดินขาว โครงการปรับปรุงกระบวนการ ผลิตและการพัฒนาการอบแห้งข้าวเกรียบปลา http://agro.psu.ac.th

  26. ผลงานและบุคลากรเด่น (6) โครงการวิจัยเด่น ปี 46-49 โครงการการพัฒนาเครื่องมือทดสอบความแข็งแรงของรอยปิดผนึกบนบรรจุภัณฑ์ http://agro.psu.ac.th

  27. โครงการบริการวิชาการเด่น ปี 2549 โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์แพะบรรจุกระป๋องและการวิจัยตลาด โครงการแปรรูปข้าวโพดหวาน โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ในพื้นที่ภาคใต้ โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมไทย (ITAP) โครงการดินประดิษฐ์ ผลงานและบุคลากรเด่น (7) http://agro.psu.ac.th

  28. ขอขอบคุณ ! www.agro.psu.ac.th

More Related