630 likes | 1.26k Views
หลักเกณฑ์ และวิธีการคัดเลือก อส ม.ดีเด่น ปี 2557 ของกระทรวงสาธารณสุข. โครงพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( อส ม.) จังหวัดนครนายก สู่ความเป็นเลิศ. ลักษมณ ทองอินทร์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ. ข้อมูลจำนวน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดนครนายก. ณ.วันที่ 19 กค. 56.
E N D
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก อสม.ดีเด่น ปี 2557ของกระทรวงสาธารณสุข โครงพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จังหวัดนครนายก สู่ความเป็นเลิศ ลักษมณ ทองอินทร์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ข้อมูลจำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดนครนายก ณ.วันที่ 19 กค. 56
สัดส่วน อสม.รับผิดชอบหลังคาเรือนเฉลี่ยทั้งจังหวัด ณ กันยายน 2556
กรอบแนวคิดการพัฒนางานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2556 ปัจจัยนำเช้า กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 1. นโยบายและ ยุทธศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง 2.องค์ความรู้ 3.งบประมาณ 4.วัสดุอุปกรณ์/สื่อ 5.บุคลากร 1.พัฒนาศักยภาพ อสม.เป็นแกนนำในการจัดการสุขภาพชุมชน 2.สนับสนุนอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของ อสม. 3.คัดเลือก อสม.ดีเด่น/จัดงาน วัน อสม.แห่งชาติ 4.พัฒนาศักยภาพชมรม อสม. 5.สนับสนุนการดำเนินงาน อสม.เชิงรุก 6.สนับสนุนการดำเนินงาน หมู่บ้านจัดการสุขภาพ 7.สนับสนุนการดำเนินงาน ชุมชนจัดการสุขภาพเข้มแข็ง 8.สนับสนุนองค์กรสาธารณ ประโยชน์ในการจัดการสุขภาพ 1.อสม.มีศักยภาพในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 2.อสม.มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 3.ภาคีเครือข่ายจัดการระบบสุขภาพชุมชน อย่างเข้มแข็ง 4.องค์กร อสม.มีศักยภาพ ในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน 5.เกิดระบบสุขภาพชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง Output 1. ร้อยละ 100 ของ อสม. ได้รับการพัฒนามาตรฐาน อสม. เจาะเลือดฝอยปลายนิ้วเพื่อคัดกรอง DM 2.ร้อยละ 100 ของตำบลที่ได้รับการสนับ สนุนชุดอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานของ อสม. 3.ร้อยละ 90 ของอสม.เป้าหมายได้รับคัดเลือกเป็น อสม.ดีเด่น 4.. ร้อยละ 100 ของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามนโยบายผู้บริหาร 5.ร้อยละ 10 ขององค์กรเอกชนสาธารณ ประโยชน์เป้าหมายได้รับการสนับสนุน Outcome 1.ร้อยละ 70 ของตำบลมีการจัดการ ด้านสุขภาพที่เข้มแข็งตามเกณฑ์มาตรฐาน ที่กำหนด 2. ร้อยละ 70 ของหมู่บ้านมีการจัดการ ด้านสุขภาพที่เข้มแข็งตามเกณฑ์มาตรฐาน ที่กำหนด 3.ร้อยละ 80 ของ อสม. ที่มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน การควบคุมกำกับและประเมินผล
อสม.ทดแทน/ลาออก สสอ สสจ. 1.คัดเลือกในระดับพื้นที่ โดยการประชาคม (แนบรายงานการประชาคม) 2.ใบสมัคร อสม.ใหม่ 3.สำเนาบัตรประชาชน 4.สำเนาทะเบียนบ้าน 5.ใบลาออก/ใบมรณะบัตร 1.ตรวจสอบหลักฐาน เอกสาร ครบถ้วน/ ถูกต้อง 2. จัดทำคำสั่งทดแทน เสนอ นพ.สสจ 3.นพ.สสจ.ลงนาม สสอ.แจ้งพื้นที่เพื่อ 1.ขึ้นทะเบียน อสม. ใหม่ 2.จ่ายค่าป่วยการ
ค่าป่วยการ อสม./สวัสดิการ อสม. ค่าป่วยการ 600 บาท กรณี อสม.เสียชีวิต สสจ. 1. รับแจ้งการโอนจาก อบจ.นครนายก 2. สสจ.ดำเนินการรับเช็ค 3. ขออนุมัติโอนเงินให้พื้นที่ 4.หนังสือแจ้งพื้นที่ สวัสดิการชมรม อสม.จังหวัดนครนายก เงินมูลนิธิ อสม. 1. พื้นที่แจ้งสำนักงานสาธารณสุขอำเภอพร้อมหลักฐาน - ใบมรณะบัตร - สำเนาบัตรประชาชนผู้เสียชีวิต - สำเนาใบเสร็จเงินชมรม 2. สสอ.จ่ายเงินค่าช่วยเหลือ 10,000 บาท พร้อมค่าพวงหรีด 500 บาท 3. สสอ.บันทึกแจ้งประธานชมรม อสม.จังหวัดนครนายก เพื่อขอรับเงินช่วยเหลือ (สำรอง 1 ราย) สสอ. 1.แจ้งพื้นที่ดำเนินการจ่ายค่า ป่วยการให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 5 ของเดือน 2. ส่งรายงานผลการดำเนินงาน/สำเนาใบสำคัญรับเงิน ถึง สสจ.ภายในวันที่ 10 ของเดือน
แนวทางการขอรับเงินและการจ่ายเงินช่วยเหลือ อสม. โดยระบบคอมพิวเตอร์ (Online) พ.ศ.2556
ข้อ 1. การเบิกจ่ายเงินช่วยเหลือ อสม. ให้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) กรณีเสียชีวิตตั้งแต่ 1 กันยายน 2555 ให้ช่วยเหลือ รายละไม่เกิน 10,000 บาท การช่วยเหลืออสม. ตาม (1) ขึ้นอยู่กับกองทรัพย์สินของมูลนิธิที่มี (1 (2) กรณีอื่นตามที่คณะกรรมการมูลนิธิเห็นสมควร
ข้อ 2. ให้ทายาทของ อสม. ซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนฐานข้อมูล อสม.เชิงรุก ยื่นคำขอตามแบบ อสม. 02 ก. ได้ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายาน 2555 โดยมีประธาน อสม. ระดับตำบลหรือชุมชน และผู้อำนวยการ รพ.สต. ที่ อสม.สังกัดอยู่ ลงชื่อ รับรอง การยื่นคำฯ รับความช่วยเหลือจากมูลนิธิ อสม.จะต้องยื่นภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่มีเหตุอันสมควรได้รับเงินช่วยเหลือ (1
ข้อ 3. เมื่อ ผอ.รพ.สต. ที่ อสม.สังกัดอยู่รับคำขอฯ จากทายาทแล้วให้ส่งคำขอฯ ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ข้อ 4. เมื่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้รับคำขอฯ แล้ว ให้ตรวจสอบเอกสาร เมื่อเอกสารครบถ้วนถูกต้อง ให้บันทึกคำขอฯ ในโปรแกรมคำขอรับความช่วยเหลือมูลนิธิ อสม. (1
ข้อ 5. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน อสม. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ลงลายมือชื่อเป็นผู้ตรวจสอบ และเก็บคำขอฯ ไว้เพื่อการตรวจสอบ ข้อ 6. เมื่อมูลนิธิ ได้รับคำขอฯ ทางคอมพิวเตอร์แล้ว ให้ดำเนินการตรวจสอบ หากเอกสารครบถ้วนถูกต้อง ให้เบิกจ่ายเงินช่วยเหลือทายาท อสม.ผ่านระบบ KTB online ภายใน 10 วัน (1 ข้อ 7. เมื่อมูลนิธิ อสม. โอนเงินเข้าบัญชีมูลนิธิ อสม. จังหวัดแล้ว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการเบิกจ่ายให้ทายาท อสม.ภายใน 15 วัน และให้ทายาท อสม. ลงชื่อในใบสำคัญรับเงิน ตามแบบ ม.อสม.03 ก. และ สสจ.นำส่งใบสำคัญรับเงินถึงประธานมูลนิธิ อสม.ทุกรายที่มีการจ่ายเงิน
การจัดทำบัตรประจำตัว อสม. 1. อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบ เลขที่บัตร พร้อมติดรูปถ่าย 2. บัตรทุกใบ ลงนามโดยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก 3. อายุการใช้งาน 4 ปี 4. อสม.ใหม่/ทดแทนเสียชีวิต ดำเนินการจัดทำบัตรประจำตัว เมื่อจัดทำคำสั่งทดแทนฯ นครนายกเรียบร้อยทันที
การพัฒนาศักยภาพ อสม.ใหม่ ปี 2557 1. อสม.ใหม่ ต้องได้รับความรู้และแนวทางฯ หลักสูตร 2 วัน ทุกคน 2. ให้มีการอบรม อสม.ใหม่ที่ยังไม่ได้รับความรู้ฯ ต้นเดือน ตุลาคม 56 3. ดำเนินการอบรมโดยภาพรวม ระดับอำเภอ 4. จัดทำใบประกาศ เสนอสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพื่อเสนอ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก ลงนาม
การพัฒนาศักยภาพ อสม.เก่า 1. เป้าหมายตามตัวชี้วัด ที่กระทรวงกำหนด 2. ตามสภาพปัญหาในพื้นที่ 3. ตามนโยบาย
การพัฒนา อสม.สู่ความเป็นเลิศ 1.แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาศักยภาพ อสม. สสจ.นครนายก ปี 2556 พฤษภาคม 2556 2.จัดประชุมคณะฯเพื่อหาแนวทางการพัฒนาฯ 11 มิถุนายน 2556 3.ระดับตำบล ส่ง อสม. เชี่ยวชาญ 10 สาขา ให้ สาธารณสุขอำเภอ ภายใน 15 สค.56 4.สาธารณสุขอำเภอ ดำเนินการคัดเลือก อสม.เชี่ยวชาญ 10 สาขา ให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ภายใน 15 กย.56 5.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับจังหวัด ภายใน ตุลาคม 2556 6.อสม.ดีเด่นระดับจังหวัด 10 สาขา เข้าคอร์ส พร้อมเตรียมผลงานในพื้นที่ พฤศจิกายน – ธันวาคม 56 7.จัดตั้งคณะทำงานในแต่ละสาขา 10 สาขา และทีมพี่เลี้ยงในแต่ละสาขา ภายใน ตุลาคม 2556 • 8.การพัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง อสม. ภายในปีงบประมาณ • งบประมาณจังหวัดจะใช้ในส่วนที่มีอยู่ก่อน
แนวทางการดำเนินงาน ปี 2556 - 2559 นายแพทย์แสวง หอมนาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก มีนโยบายในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน จังหวัดนครนายก โดยให้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจังหวัดนครนายกมีส่วนร่วม ในทุกกระบวนการและกิจกรรมการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน จังหวัดนครนายก
งานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์งานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2557
ข้อ 3. สาขาการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ประจำปี 2557 มีดังต่อไปนี้
1. สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ2. สาขาการส่งเสริมสุขภาพ3. สาขาสุขภาพจิตชุมชน4. สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน5. สาขาการบริการสุขภาพใน ศสมช. และการสร้างหลักประกันสุขภาพ6. สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ7. สาขาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ8. สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในชุมชน9. สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน10. สาขานมแม่ สายใยรักแห่งครอบครัว
ข้อ 5.เกณฑ์การคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ผู้ที่จะได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ดีเด่นประจำปีพุทธศักราช 2557 ในแต่ละระดับ แต่ละสาขา จะต้องมีคะแนน รวมผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 และเป็นผู้ได้รับคะแนนสูงสุดดังต่อไปนี้
1.) หลักเกณฑ์เบื้องต้น : เกี่ยวกับคุณสมบัติความเป็นผู้นำของ อสม. 100 คะแนน • การครองตน : การเป็นผู้มีสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพเป็นแบบอย่าง ที่ดีฯ ( 30 คะแนน) • การครองคน : การเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชน ฯ ( 30 คะแนน) • การครองงาน : การเป็นผู้มีความสามารถในการจัดทำแผนสุขภาพหมู่บ้าน ตำบล ผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ฯ (40 คะแนน)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองตน
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองตน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองตน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองตน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองตน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองตน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองคน
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองคน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองคน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองคน (ต่อ)
แบบประเมินตามเกณฑ์ฯ การครองงาน
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน • ความรู้ที่จำเป็นของ อสม. เกี่ยวกับสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (10 คะแนน) • การปฏิบัติตนของ อสม. ในสาขาที่คัดเลือก ( 10 คะแนน) • ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เชิงเทคนิค และการบริหารจัดการ ของ อสม. เกี่ยวกับสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (10 คะแนน) • ความสามารถในการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ (20 คะแนน) • กิจกรรมของ อสม. เกี่ยวกับสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (20 คะแนน) • ผลงาน ความสำเร็จ และสิ่งที่ภาคภูมิใจ ฯ (30 คะแนน)
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน (ต่อ) 1. ความรู้ที่จำเป็นของ อสม. เกี่ยวกับสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (10 คะแนน) * Know (ความรู้) * Complihension(ความเข้าใจ/ความคิดรวบยอด) * Application (การนำไปใช้) * Analysis (การวิเคราะห์) * Synthesis (สังเคราะห์/ทักษะความสามารถและทักษะที่สูงกว่า ความเข้าใจ) * Evaluation (ประเมิน)
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน (ต่อ) • การปฏิบัติตนของ อสม. ในสาขาที่คัดเลือก ( 10 คะแนน) * ตนเอง * ครอบครัว โดยดูพฤติกรรม ณ ปัจจุบันหรือผลของพฤติกรรมในอดีต ที่ส่งผลถึงปัจจุบัน เช่น สาขาส่งเสริมสุขภาพ ผู้ได้รับการคัดเลือกจะต้องมีรอบเอวไม่เกินไม่เกินมาตรฐาน หากมีโรคประจำตัวต้องมีการดูแลควบคุมโรคไม่ให้รุนแรง สาขาภูมิปัญญาอสม.ต้องมีการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้าน สาขาสายใยรักฯ ดูพฤติกรรมการเลี้ยงดูบุตร หรือพฤติกรรมและพัฒนาการของบุตรที่มีผลจากการเลี้ยงดูบุตร
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน (ต่อ) 3. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เชิงเทคนิค และการบริหารจัดการ ของ อสม. เกี่ยวกับสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (10 คะแนน) * การกำหนดเป้าหมายที่สะท้อนปัญหา * สื่อ อุปกรณ์ และจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบฐานกิจกรรม * มีการวิเคราะห์ตนเอง * ใช้คำให้ตรงกับเป้าหมาย * จัดกิจกรรมให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน (ต่อ) • ความสามารถในการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ (20 คะแนน) * มีแผนบริหารแบบบูรณาการ * ใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชนอย่างคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ * การใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ * โครงสร้างองค์กรในการดำเนินงานในสาขาที่คัดเลือก (การสร้างเครือข่าย การมีทีมงานที่หลากหลาย) * มีความเป็นพลวัตรการเติบโตของงาน
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน (ต่อ) • กิจกรรมของ อสม. เกี่ยวกับสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (20 คะแนน) * มีกิจกรรมเป็นรูปธรรม วัดผลได้ จำแนกและกำหนดกลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย * ดำเนินการตามหลักวิชาการ และกำหนดบทบาทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย * กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมและสร้างกิจกรรมเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคน ในชุมชน * ติดตามช่วยเหลือให้ข้อแนะนำอย่างต่อเนื่อง วิเคราะห์สาเหตุ แก้ไขปัญหา ที่สาเหตุ * ประเมินผล แล้วขยายผลการดำเนินงาน * บันทึกผลงานเป็นรูปธรรม
2.) หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขา 100 คะแนน (ต่อ) • ผลงาน ความสำเร็จ และสิ่งที่ภาคภูมิใจในสาขาที่เข้ารับการคัดเลือก (30 คะแนน) * ปัญหาได้รับการแก้ไข * ชาวบ้านดำเนินการต่อเนื่อง * ชุมชนมีสุขภาพดี สัมพันธ์กับการลดลงของโรค * ระบุสาเหตุและจัดการสาเหตุแห่งปัญหาได้บรรลุผล * นวัตกรรมในการจัดการแก้ไขปัญหา * มีการสืบทอด * การยอมรับและมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน และสังคม รวมถึงการสนับสนุน ชื่นชมยินดี
ข้อ 6. เครื่องมือการคัดเลือกให้ใช้แบบประเมินตามเกณฑ์การคัดเลือก อสม.ดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2557
ข้อ 7. คณะกรรมการการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น 1.) คณะกรรมการการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ในแต่ละระดับ มีดังต่อไปนี้ ก. การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับตำบล/ อำเภอ นายอำเภอ เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ข. การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ
ข้อ 7. คณะกรรมการการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น (ต่อ) ค. การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับเครือข่ายบริการ (เขต) และระดับภาค ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ง. การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการคัดเลือก ฯ และคณะกรรมการประเมินผลการคัดเลือกฯ ทำหน้าที่ประเมินผลฯ ในพื้นที่ 4 ภาค
ข้อ 8. รูปแบบและวิธีการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น 1.) รูปแบบและวิธีการคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับตำบล ระดับอำเภอ และระดับ จังหวัด ให้เป็นไปตามวิธีการที่จังหวัด หรืออำเภอกำหนดตามความเหมาะสม 2.)รูปแบบและวิธีการคัดเลือก อสม.ดีเด่นเครือข่ายบริการ (เขต) และระดับภาคมีดังต่อไปนี้ ก. ให้นำเสนอผลงานในห้องประชุม ณ สถานที่ที่กำหนด ฯ ข. ใช้รูปแบบและวิธีการอื่นๆ ตามคณะกรรมการฯ กำหนด
ข้อ 8. รูปแบบและวิธีการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น (ต่อ) 3.) รูปแบบและวิธีการคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ ให้คณะกรรมการฯดำเนินการประเมินผลงานของ อสม.ดีเด่น ในพื้นที่ของ อสม.นั้นๆ
ข้อ 10. การรับรองอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่นระดับชาติ ให้คณะกรรมการการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่นระดับชาติทุกคณะ เสนอผลการประเมินอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ให้คณะกรรมการอำนวยการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่นระดับชาติ ประจำปีพิจารณารับรองฯ
ข้อ 11. การประกาศเกียรติคุณ 1.) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประกาศเกียรติคุณอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ระดับตำบล และระดับอำเภอ 2.) กระทรวงสาธารณสุขประกาศเกียรติ ดังนี้ ก. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่น ระดับจังหวัด ระดับ เครือข่ายบริการ(เขต) และระดับภาค....สาขา...... ประจำปี 2557 ข. ทีมเครือข่ายสุขภาพ ผู้ให้การสนับสนุนอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านดีเด่น ระดับชาติ ประจำปีพุทธศักราช 2557