1 / 39

การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

ทิศ ทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรคจากอดีตสู่ปัจจุบันและอนาคต (จุดเน้น 5 ปี, 10+3 และ 15 โครงการสำคัญ). โดย นายแพทย์สมบัติ แทนประเสริฐสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิฯ. การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

Download Presentation

การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรคจากอดีตสู่ปัจจุบันและอนาคต (จุดเน้น 5 ปี, 10+3 และ 15 โครงการสำคัญ) โดย นายแพทย์สมบัติ แทนประเสริฐสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิฯ การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์กรมควบคุมโรคปี 2563"วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมรอยัลฮิลล์ กอร์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดนครนายก

  2. กรอบการบรรยาย ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และการป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพของประชาชน (KPI 10 + 3) ปี 2557 2. กลไก กระบวนการกำกับ ติดตามของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 3. การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และการนิเทศงาน กรมควบคุมโรค ปี 2558 3.1 การติดตามงาน ปีงบประมาณ 2558 3.2 การนิเทศงาน ปีงบประมาณ 2558 3.3 การประเมินผลงาน ปีงบประมาณ 2558

  3. 1.ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชน (KPI 10 + 3) ปี 2557

  4. ผลสำเร็จยุทธศาสตร์ที่ 1 - 6 ปี 2557

  5. ผลสำเร็จยุทธศาสตร์ที่ 1 - 6 ปี 2557 (ต่อ) หมายเหตุ : ผลการประเมินตนเอง =N/A =1.00-1.49 =1.50-2.49 =2.50-3.49 =3.50-4.49 =4.50-5.00

  6. สรุปผลตามตัวชี้วัดสำคัญกรมควบคุมโรค (10 + 3) รอบ 12 เดือน ปี 2557

  7. สรุปผลตามตัวชี้วัดสำคัญกรมควบคุมโรค (10 + 3) รอบ 12 เดือน ปี 2557(ต่อ)

  8. ข้อค้นพบจากการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลงานปี 2557 • อัตราตายที่เกิดจากโรคไม่ติดต่อมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะปัจจัยเสี่ยง 5 อันดับแรก - การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - การบริโภคยาสูบ - ความดันโลหิตสูง - การไม่สวมหมวกนิรภัย - Cholesterolในเลือดสูง • กลไกควบคุมป้องกันโรคในแรงงานย้ายถิ่นและระบบการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ เช่น มะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี โดยเฉพาะสาเหตุจากพยาธิใบไม้ตับในภาคอีสานและภาคเหนือยังขาดเจ้าภาพหลักในการประสานการควบคุมป้องกันระดับประเทศ • ข้อมูลหลากหลาย ไม่สามารถชี้เป้าหมายประชากรเป้าหมาย และใช้สนับสนุนการวางแผนได้อย่างเฉพาะเจาะจง

  9. ข้อค้นพบจากการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลงานปี 2557 (ต่อ) • มาตรการลดโรคที่สำนักวิชาการถ่ายทอดให้กับ สคร. ยังไม่สามารถสื่อสารให้เกิดความเข้าใจได้เท่าที่ควรและขาดการนำยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค (ย.1 - 6) ขับเคลื่อนมาตรการเพื่อการลดโรคอย่างมีประสิทธิภาพ • การทำงานส่วนใหญ่เน้นการทำงานตามตัวชี้วัด ขาดการวิเคราะห์และสังเคราะห์โรคและภัยที่เป็นปัญหาในพื้นที่ • ไม่มีความชัดเจนในการนำข้อมูลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคฯ ของสสจ.และเขตบริการสุขภาพ มาพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information) และระบบการเฝ้าระวังฯของ สคร. • ยังไม่ค่อยพบการ Priority ปัญหาโรคในพื้นที่ในระดับ สคร. และการวางแผนการแก้ปัญหาในระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว • ไม่มีผู้รับผิดชอบโรคที่ชัดเจน ไม่มีผู้ประสานแผนระหว่างกลุ่มงานกับแผนเขตฯ พบปัญหาจำนวนบุคลากรน้อยลง และขาดทักษะ/ความชำนาญ • ระดับพื้นที่จะเน้นการบริการรักษามากกว่าการบริการเพื่อการป้องกันควบคุมโรค รวมถึงการบริหารจัดการตรวจราชการทั้งด้านที่เป็น Regulator และ Technical Support ยังต้องได้รับการพัฒนาในเชิงนโยบาย

  10. ข้อเสนอแนะในการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ข้อเสนอแนะในการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค

  11. 2. กลไก กระบวนการกำกับ ติดตามของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

  12. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เจตนารมณ์ คสช. ข้อ 2.5 ด้านสังคมจิตวิทยา 5 ประเด็น ผังความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ฟื้นฟูความเชื่อมั่น และวางรากฐาน ยุทธศาสตร์การศึกษา,สาธารณสุข และคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์พัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและวิจัย แผนงานกรอบข้อตกลงประชาคมอาเซียน 486.66 ลบ. แผนงานแก้ไขและพัฒนาชายแดนภาคใต้ 862.70 ลบ. แผนงานพัฒนาด้านสาธารณสุข 27,455.57 ลบ. แผนงานพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 195,233.54 ลบ. แผนงานยาเสพติด 1237.57 ลบ. แผนงานวิจัยและ พัฒนาบุคลากร 219.37 ลบ. แผนงานป้องกันปราบปรามทุจริต 36.45 ลบ. บูรณาการ 15 ด้าน ประชาคมอาเซียน 4 ระบบ 5 กลุ่มวัย ป้องกัน บำบัด ยาเสพติด ชายแดนภาคใต้ Road Map ระยะเร่งด่วน 8 ข้อ ระยะกลาง 4 ข้อ ระยะยาว 2 ข้อ ยุทธศาสตร์เน้นหนัก กสธ. พัฒนาและจัดระบบบริการ พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย พัฒนาระบบบริหารจัดการ

  13. เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าหมาย ระยะ 10 ปี 1.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้(6ตัว) ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ (6ตัว) เป้าหมาย ระยะ 1 ปี Strategic Focus KPIs 21 กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5 ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.อัตราเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ระบบบริการปฐมภูมิ 10.ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) การบังคับใช้กฎหมาย 16.มีเครือข่ายนักกฎหมายที่เข้มแข็ง และบังคับใช้กฎหมายในเรื่องที่สำคัญ สิ่งแวดล้อม 17.มีระบบฐานข้อมูล และสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี) 3.เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 10 4.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ระบบบริการทุติยภูมิ และตติยภูมิ 11.การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง พัฒนาบุคลากร 18.มีแผนพัฒนาบุคลากรอย่างมืออาชีพในระดับจังหวัด กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) 5.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน) 6.ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 13) ระบบควบคุมโรค 12.ร้อยละของอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ (ร้อยละ 50) 13.ร้อยละของอำเภอชายแดนสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ชายแดน (ร้อยละ 50) การเงินการคลัง 19.ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) กลุ่มวัยทำงาน (15-59 ปี) 7.อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนในปี 2558 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน 8.อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลง ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี (2558-2562) ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 14.ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์ ยาและเวชภัณฑ์/พัสดุ 20.ลดต้นทุนของยา เวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ได้ตามแผนของเขตและจังหวัด กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) และผู้พิการ 9.ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์ (ร้อยละ 30) การป้องกันและบำบัดรักษายาเสพติด 15.อัตราการหยุดเสพ (remission rate) ร้อยละ 50 ปราบปรามทุจริต 21.ค่าดัชนีวัดภาพลักษณ์คอรัปชั่นของประเทศไทย (CPI) มีระดับดีขึ้น สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กสธ. 26 กันยายน 2557

  14. ร่าง_ ความเชื่อมโยงนโยบายกระทรวงฯ/รัฐบาล สู่การปฏิบัติของกรมควบคุมโรค ปี 2558

  15. การขับเคลื่อนนโยบายฯ สู่การปฏิบัติ 2558 1. หลักการ - บูรณาการทุกกรม ทุกหน่วยงาน - ธรรมาภิบาลทุกระดับ - รับผิดชอบ กำกับติดตามอย่างเข้มแข็ง - ให้ความสำคัญกับการจัดการในเขตสุขภาพ 2. กลไก กระบวนการกำกับ ติดตาม และประเมินผล - มอบรองปลัด/ผู้ตรวจราชการ รับผิดชอบในแต่ละประเด็นนโยบาย โดยปลัดกระทรวงกำกับติดตามทุกสัปดาห์ - ใช้กลไกการตรวจและกำกับติดตามราชการที่เข้มข้นทั้งในระดับเขตและจังหวัด - มีระบบรายงานที่ไม่เป็นภาระกับหน่วยบริการ โดยเฉพาะ รพ.สต. (รายงานจากระบบรายงานปกติ, การสำรวจ, แหล่งข้อมูลอื่นๆ) - รายงานผลการดำเนินการต่อรัฐมนตรีทุกเดือน 3. มีคณะกรรมการประเมินผลสัมฤทธิ์และวิธีการใช้งบประมาณ ทั้งงบปกติและงบกองทุนเพื่อความโปร่งใส

  16. ระบบM&E - การรายงานผลใน 31แฟ้ม และ 43 แฟ้ม - การประเมินผลและพัฒนาบริการ - การสำรวจและวิจัย Monitoring เขต/จังหวัด ผู้ตรวจราชการฯ ภาพรวมกระทรวงฯ Evaluation กรม/สนย./เขต/จว.

  17. กลไกการรายงานผลงานตามตัวชี้วัดกลไกการรายงานผลงานตามตัวชี้วัด รพ.สต. รพช./รพท./รพศ. เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด - Cross-sectional Survey - Cluster Survey - Sampling Survey - Rapid Survey 31 แฟ้ม 43แฟ้ม สำรวจ เขต / จังหวัด / อำเภอ / กรมวิชาการ เอกสารอ้างอิง นำขึ้น website - Assessment - Audit - Measure ประเมินผล รายงานผลงานตามตัวชี้วัด KPI ระดับเขตและจังหวัด เป็นทางเลือกในการดำเนินงานตามสภาพปัญหาของพื้นที่ และเพื่อส่งผลต่อเป้าหมายระดับกระทรวง สามารถศึกษารายละเอียด ชุดข้อมูลมาตรฐานสุขภาพ ได้ที่ http://healthcaredata.moph.go.th

  18. 3. การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และการนิเทศงาน กรมควบคุมโรค ปี 2558

  19. การนำยุทธศาสตร์/นโยบายการนำยุทธศาสตร์/นโยบาย สู่การปฏิบัติ องค์กรการประเมินผล ระดับชาติ สศช.,สคลสลน.,สปง. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติ ครม. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 11 ยุทธศาสตร์/นโยบาย ระดับกระทรวงสาธารณสุข • เร่งรัด แก้ไขปัญหา • ปรับปรุง ทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์ • ข้อมูลประกอบการจัดสรรงบประมาณ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 กรอบการติดตาม ประเมินผล รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 แผนปฏิบัติราชการกระทรวง สธ. ผลการประเมินระดับกระทรวง แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ติดตามประเมินผล 1 สัปดาห์, 1,3, 6, 9, 12 เดือน นโยบายรัฐบาล/แผนการบริหารราชการแผ่นดิน รมว./รมช./ ปลัดกระทรวง สธ. ระบบติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรอบการประเมิน ผลกระทบ สถานะ สุขภาพ เป้าหมายการให้บริการกรมฯ ติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์ /จุดเน้นกรมควบคุมโรค เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ / นโยบายระดับกระทรวง ผลลัพธ์ คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมฯ การติดตาม ประเมินผลระดับกรม ผลผลิตกรมควบคุมโรค

  20. กรอบการติดตาม ประเมินผล (ต่อ) ก่อนการดำเนินการ ระหว่างการดำเนินงาน หลังการดำเนินงาน การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จ ของการดำเนินงานจากการ ใช้จ่ายงบประมาณ(PART) (ระดับกรมฯ) รายงานความก้าวหน้าในระบบบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ (EstimatesSM) แบบ Real Times และรายงานทุกไตรมาส ภายในวันที่ 25 ของเดือนที่สิ้นสุดไตรมาส • การประเมินผลการดำเนินงาน • โครงการสำคัญ/มาตรการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/แผนงานป้องกันควบคุมโรค (Revitalizing Disease Control Program) • ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค สรุปผลการดำเนินงาน แต่ละไตรมาส การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล (ระดับกรมฯ) การนิเทศงาน/การตรวจราชการ การวิเคราะห์โครงการโดยใช้เกณฑ์ PMQA (ระดับหน่วยงาน) - PART หมวด จ. - ประเมินคุ้มค่าภารกิจ ภาครัฐ(VFM) ประสานและสรุปผลการตรวจราชการกับสำนักตรวจราชการกระทรวง สธ.ปีละ2 ครั้ง การนิเทศติดตามงานหน่วยงานในสังกัดกรมฯ

  21. ตัวชี้วัดระดับกระทรวงฯ ที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ

  22. ตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรคตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค

  23. ตัวชี้วัดระดับจังหวัดที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรคตัวชี้วัดระดับจังหวัดที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค

  24. 15 โครงการหลัก กรมควบคุมโรค 2558 ตามสายงานรองอธิบดี ข้อมูล ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2557

  25. ร่าง_ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์จุดเน้นพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค 15 โครงการหลัก กรมควบคุมโรค ปี 2558 ด้วย “3ส 5I” งานสำเร็จ คนสุข สร้างคน สร้างระบบ

  26. ร่าง_ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์จุดเน้นพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค 15 โครงการหลัก กรมควบคุมโรค ปี 2558 ด้วย “3ส 5I” งานสำเร็จ คนสุข สร้างคน สร้างระบบ

  27. กระบวนการติดตามและประเมินผลงาน ปี 2558 คณะกรรมการนิเทศและติดตามการดำเนินงานฯ 1. กำหนดกรอบการนิเทศงานและการติดตามและประเมินผล ทบทวน -แผนงาน/โครงการ/มาตรการ ดำเนินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การติดตามงาน การประเมินผล ทุกหน่วยงานในสังกัด 2. รายความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ของนโยบาย/แผนงานโครงการ - โครงการตอบสนองนโยบาย รมต.ทุกสัปดาห์ - นโยบายรัฐบาล ทุก 1 เดือน - แผนงานป้องกันควบคุมโรค (15 โครงการหลัก) (Real Time) 3. สรุปผลการติดตามงาน/ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ รายงาน ใน (EstimateSM) • 2. การประเมินผล • แผนงานป้องกันควบคุมโรคที่มีความเร่งด่วนในการพัฒนา ตาม Revitalizing Diseased Control Program (สำนัก/สถาบัน) • โครงการที่เป็น 15 โครงการหลักที่กรมฯ ให้ความสำคัญ/โครงการสำคัญที่ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจของกรม/หน่วยงาน • (ทุกหน่วยงาน) • มาตรการการป้องกันควบคุมโรคที่สำคัญ (สำนัก/สถาบัน) สคร. พิจารณาประเมินมาตรการที่ผลักดันให้พื้นที่ดำเนินการลดโรคฯ ที่เป็นปัญหาในพื้นที่/เขตบริการสุขภาพ • โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาพื้นที่ในเขตสุขภาพ (สคร.) • 3. สรุปผลการประเมิน/ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ การนิเทศงาน 2. นิเทศงานหน่วยงานในสังกัด - การพัฒนาระบบ - แผนงานป้องกันควบคุมโรค (15 โครงการหลัก) - การบริหารงาน 3. สรุปผลการนิเทศงาน/ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 4. ผลักดันข้อเสนอแนะจากการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลสู่การปฏิบัติหรือนำไปใช้ประโยชน์ในปี 2559 หรือปีต่อๆไป

  28. การติดตามและประเมินผลภาพรวม ของการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และ ภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล เป้าประสงค์ มีกลไกการติดตามและประเมินผลภาพรวมและการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการทรัพยากรของการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล

  29. 3.1 การติดตามงาน ปีงบประมาณ 2558

  30. การติดตามตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการ(PSA) และผลผลิตกรมฯ ปีงบประมาณ 2558 รายไตรมาส

  31. การติดตามตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการ(PSA) และผลผลิตกรมฯ ปีงบประมาณ 2558 รายไตรมาส (ต่อ)

  32. การติดตามการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล ระดับหน่วยงาน (สำนัก/สถาบัน/กอง/สคร.) ระดับกรม วางแผน/ทำแผนการติดตามการดำเนินงานหน่วยงานในสังกัดกรมฯ ขั้นที่ 1 วางแผน/ทำแผนการติดตามการดำเนินงานของหน่วยงาน ขั้นที่ 2 ติดตามการดำเนินงานตามแผนการติดตามรอบ 6 เดือน ติดตามการดำเนินงานภาพรวมกรมฯ รอบ 6 เดือน ติดตามการดำเนินงานภาพรวมกรมฯ รอบ 9 เดือน ติดตามการดำเนินงานตามแผนการติดตามรอบ 9 เดือน ขั้นที่ 3 รวบรวม/วิเคราะห์/สังเคราะห์ สรุปผลการติดตามภาพรวมกรมฯ +ข้อเสนอแนะฯ สรุปผลการติดตาม +ข้อเสนอแนะ(ผลผลิต/ผลลัพธ์/มาตรการ/ โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในเขตสุขภาพ) ขั้นที่ 4 **ผลักดันข้อเสนอแนะจากการติดตามสู่การปฏิบัติหรือนำไปใช้ประโยชน์ในปี 2559 หรือปีต่อๆไป ขั้นที่ 5

  33. 3.2 การนิเทศงาน ปีงบประมาณ 2558

  34. แนวทางการนิเทศงาน ปี 2558 • วัตถุประสงค์ • เพื่อติดตามรับฟังปัญหา และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาการใช้ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ขับเคลื่อนมาตรการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพให้บรรลุวัตถุประสงค์ • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน/โครงการ ดังต่อไปนี้ • - นโยบายกรมฯ (15 โครงการหลัก) • - การพัฒนาความเข้มแข็งของแผนงานโรค • รับฟังปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะเพื่อขับเคลื่อนมาตรการการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ • สร้างขวัญกำลังใจ

  35. ทีมและเครื่องมือการนิเทศงาน ปี 2558 • ทีมนิเทศงาน ประมาณ 9-10 ท่าน • รองอธิบดี หัวหน้าทีม • ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่าน • ผอ./รองผอ./นักวิชาการเชี่ยวชาญ(จากสำนักด้านโรคติดต่อ 1 ท่าน/จากสำนักด้านโรคไม่ติดต่อ 1 ท่านตามความต้องการของสคร.) • กองแผนงาน ทีมเลขา ประมาณ 4 คน • เครื่องมือในการนิเทศงาน • สำนัก/สถาบันในส่วนกลาง เตรียมข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์โรคที่เป็นปัญหาในเขตบริการสุขภาพที่ 1 – 12 ชี้เป้ากลุ่มเสี่ยง ประเด็นการนิเทศงานแต่ละสคร.ที่สำคัญโดยยึดตาม 15 โครงการหลักและโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ • กองบริหารเตรียมข้อมูลอื่นๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน ผลการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นต้น เป็นข้อมูลประกอบการนิเทศงานเชิงบริหารจัดการ

  36. 3.3 การประเมินผลงาน ปีงบประมาณ 2558

  37. การประเมินผลของหน่วยงานในกรมควบคุมโรค ปี 2558

  38. การประเมินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล ระดับหน่วยงาน (สำนัก/สถาบัน/กอง/สคร.) ระดับกรม จัดทำโครงร่างการประเมินตามกรอบ Check list และนำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิฯ/ผู้เชี่ยวชาญ (คณะทำงาน/ โครงร่างการประเมินฯ/ ข้อเสนอแนะ) รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูลโครงการประเมินที่สอดคล้องกับนโยบาย/ จุดเน้นกรม (รายงานการประชุมการวิเคราะห์โครงร่างฯ) 1 ทบทวนปรับปรุงโครงร่างการประเมิน และนำเสนอผู้บริหาร (โครงร่างฯที่ปรับแก้ไข/ กรณีเป็นโครงการประเมินที่เป็นโครงการวิจัย (ผ่าน คกก.จริยธรรม) รวบรวมโครงร่างการประเมิน ที่ผ่านการกลั่นกรองจากผู้กรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ ผู้เชี่ยวชาญ (เอกสารโครงร่างฯของหน่วยงาน) 2 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผลรายงานการประเมินที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (คำสั่งแต่งตั้ง คกก./ แบบ Check list) เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผล (หลักฐานข้อมูลที่เก็บ/ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล) 3 รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์รายงาน การประเมินของหน่วยงาน และจัดทำเป็นภาพรวมกรมฯ (ข้อเสนอแนะ/ หลักฐาน การเผยแพร่/แบบ Check list) นำเสนอ (ร่าง) รายงานการประเมินกับผู้ทรงคุณวุฒิฯ/ผู้เชี่ยวชาญ และจัดทำรายงาน (ข้อเสนอแนะ/ รายงานการประเมินผล) 4 ข้อเสนอแนะได้รับการผลักดันสู่การปฏิบัติ (หลักฐานผลักดันข้อเสนอสู่การปฏิบัติ) เสนอต่อผู้บริหารกรม เพื่อการพัฒนาต่อไป (เอกสารเสนอผู้บริหาร) 5

  39. ขอบคุณ

More Related