250 likes | 862 Views
แผนยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา วัณโรค แห่งชาติ เพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558. วันที่ 30 มิถุนายน - 1 กรกฏาคม 2553 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ กรุงเทพมหานคร. เนื้อหา. ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ
E N D
แผนยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558 วันที่ 30 มิถุนายน - 1 กรกฏาคม 2553 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ กรุงเทพมหานคร
เนื้อหา ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ และกลวิธีการดำเนินงาน ส่วนที่ 4 ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ส่วนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
สถานการณ์วัณโรคของโลกสถานการณ์วัณโรคของโลก • 1 ใน 3 ของประชากรทั่วโลกติดเชื้อวัณโรคแล้ว • ความชุก (prevalence) ของผู้ป่วยวัณโรคประมาณ 11.1 ล้านคน • ผู้ป่วยรายใหม่ (Incidence) ประมาณ 8.8 ล้านคน / ปี (ร้อยละ 95 อยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา) • ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละประมาณ 1.3 ล้านคน (ร้อยละ 98 อยู่ในประเทศที่ยากจน)
สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย • ร้อยละ 30 ประชากรติดเชื้อวัณโรคแล้ว • องค์การอนามัยโลกคาดประมาณว่าประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยวัณโรค ทั้งสิ้น 125,000 ราย (197/100,000 ประชากร) • โดยเป็นผู้ป่วยใหม่ 92,319 ราย (137/100,000 ประชากร) • มีผู้ป่วยในระยะแพร่เชื้อ (เสมหะบวก) 44,475 (66/100,000 ประชากร) • ผู้ป่วยเสียชีวิตปีละ 12,089 ราย (19/100,000 ประชากร)
เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558 • การพัฒนาแห่งสหัสวรรษได้รับการรับรองจาก 189 ประเทศในการประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษเมื่อปี 2543 • เป้าหมายหลักที่ท้าทายตัวที่ 6 คือ ต่อสู้โรคเอดส์ มาลาเรีย และโรคสำคัญอื่นๆ (Combat HIV/AIDS, Malaria and other diseases) • เป้าหมายย่อยข้อที่ 8 คือ ป้องกันและลดการเกิดโรคมาลาเรีย และโรคสำคัญอื่นๆ มีตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับวัณโรค 2 ตัวชี้วัด คือ • ตัวชี้วัดที่ 23 ลดอัตราป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อและอัตราตายจากวัณโรค • ตัวชี้วัดที่ 24 สัดส่วนของการตรวจพบวัณโรคระยะแพร่เชื้อ (Case detection) กับอัตราการรักษาหาย
ปัญหาอุปสรรคและสิ่งท้าทาย (1) • การพัฒนาคุณภาพการดำเนินงาน DOTS ภายใต้ระบบสาธารณสุขที่เน้นการกระจายอำนาจและการพัฒนาในเมืองใหญ่ • การสนับสนุนที่เข้มแข็งงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ • การนิเทศกำกับติดตามอย่างเป็นระบบ
ปัญหาอุปสรรคและสิ่งท้าทาย (2) • การจัดระบบดูแลและสารสนเทศวัณโรคดื้อยา • การสนับสนุนโรงพยาบาลเอกชนให้ดำเนินการตามแผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ • การดำเนินงานวัณโรคที่เข้มแข็งของทุกภาคส่วนในเขตกรุงเทพมหานคร • การพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบทั้งส่วนกลางและภูมิภาค
ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ (1) วิสัยทัศน์ ควบคุมวัณโรคจนไม่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุข ของประเทศไทย เป้าประสงค์ เพื่อลดปัญหาวัณโรคภายในปี พ.ศ. 2558 โดยให้สอดคล้องตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ (2) • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายเข้าถึงบริการมาตรฐานการตรวจวินิจฉัย และการดูแลรักษาอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง • เพื่อลดปัญหาวัณโรคที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีและวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ตลอดจนประชากรกลุ่มเสี่ยงพิเศษและผู้ที่อยู่ในพื้นที่ชายแดนได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงตามแนวทางมาตรฐานแห่งชาติ • เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ระบบบริการสาธารณสุข • เพื่อให้มีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง • เพื่อให้ชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการค้นหาและรักษาผู้ป่วย • เพื่อสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานควบคุมวัณโรค
ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ (3) • เป้าหมาย • เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อรายใหม่ให้มากกว่าร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่คาดว่าจะมีอยู่ในชุมชน และผลการรักษาสำเร็จ (Success rate) มากกว่าร้อยละ 85 • 2. ลดอัตราป่วยและอัตราตายจากวัณโรคลงร้อยละ 50 ภายในปี 2558 เมื่อเทียบกับสถานการณ์ ปี พ.ศ.2533
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติและกลวิธีการดำเนินงาน
6 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ (1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการดำเนินงานDOTS อย่างมีคุณภาพ (Pursue high-quality DOTS expansion and enhancement) ยุทธศาสตร์ที่ 2 เร่งรัดดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยา วัณโรคในเรือนจำ วัณโรคในเด็ก และกลุ่มเสี่ยงอื่น ๆ (Address TB–HIV ,MDR-TB ,and the needs of poor and vulnerable populations)
6 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ (2) ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเสริมความเข้มแข็งระบบสาธารณสุข เพื่อการควบคุมวัณโรค (Contribute to health system strengthening based on primary health care) ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานหรือองค์กร ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (Engage all care providers)
6 ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาวัณโรคแห่งชาติ (3) ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ และการมีส่วนร่วม ของสังคมและชุมชน (Empower people with TB, and communities through partnership) ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อการควบคุมวัณโรค (Enable and promote research)
ส่วนที่ 4 ตัวชี้วัดและเป้าหมาย
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 1)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 1)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 2)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 2)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 3)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 4)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์ที่ 5)
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 6)