120 likes | 334 Views
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทาง แนวทางการดำเนินงานปี 2558. สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 28 สิงหาคม 2557. สถานการณ์ทันตสุขภาพ. หญิงตั้งครรภ์และเด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์เหงือกอักเสบ, เด็กอายุ๓ปีฟันน้ำนมผุ ๕๑.๗ % เด็ก๕ ปีฟันน้ำนมผุ๗ ๘.๕ %
E N D
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทาง แนวทางการดำเนินงานปี 2558 สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 28 สิงหาคม 2557
สถานการณ์ทันตสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และเด็กเล็กหญิงตั้งครรภ์เหงือกอักเสบ,เด็กอายุ๓ปีฟันน้ำนมผุ ๕๑.๗ % เด็ก๕ปีฟันน้ำนมผุ๗ ๘.๕ % เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเด็กอายุ๑๒ปีฟันแท้ผุ ๕๒.๓ % เหงือกอักเสบ ๕๐ % ฟันตกกระ ๙.๒ %เด็กอายุ๑๕ ปีฟันแท้ผุ ๖๒.๔ % ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญหญิงมีครรภ์มีการทำความสะอาดช่องปากที่ไม่เพียงพอเด็กเล็กขาดการทำความสะอาดฟันโดยผู้ปกครอง ดื่มนมขวด และขนมกรุบกรอบ เด็กกินขนมและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง การทำความสะอาดช่องปากไม่มีประสิทธิภาพ น้ำบริโภคมีฟลูออไรด์สูง
วัยทำงานฟันแท้ผุ ๘๖.๗ % เริ่มพบการผุบริเวณซอกฟัน มีหินน้ำลายและ/หรือเลือดออก ๖๑.๘ % เริ่มมีร่องลึกปริทันต์ตั้งแต่ ๔ มม.ขึ้นไป ๑๕.๖ % สภาวะช่องปากที่สัมพันธ์กับความรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนของNCDs/ พบรอยโรคในช่องปากที่อาจกลายเป็นมะเร็ง วัยสูงอายุฟันผุ ๙๗.๑ % ไม่ได้รับการรักษา ๔๘.๓ %เป็นโรคปริทันต์๓๒.๑ % สูญเสียฟันบางส่วน ๘๘.๓ % สูญเสียฟันทั้งปาก ๗.๒ % ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญการสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า โรคประจำตัว การทำความสะอาดช่องปากที่ไม่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงบริการไม่เพียงพอ
แนวทางการดำเนินงานปี2558 • โครงการพระราชดำริ • งาน/โครงการบูรณาการ • ตามยุทธศาสตร์กระทรวงสธ. • (5กลุ่มวัย และ 4ระบบ) • งานตามพันธกิจของหน่วยงาน สอดคล้องกับบทบาท NHA (1) PolicyLead (2) Model development (3)Surveillance (4) Technology Transfer (5) M&E สอดคล้องกับ 6 Building Blocks 1) บริการ 2) พัฒนาบุคลากร 3) ระบบข้อมูล 4) เทคโนโลยี 5) ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล 6) การมีส่วนร่วม
ทิศทาง แนวทางการดำเนินการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558
ทิศทาง แนวทางการดำเนินการ ปี 2558 ฟันเทียมพระราชทาน (โครงการพระราชดำริ) - ใส่ฟันเทียมผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุ ภาครัฐ เอกชนร่วม รณรงค์พิเศษ - ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ผ่านชมรม - ผู้สูงอายุได้รับบริการส่งเสริมป้องกัน ผ่านหน่วยบริการปฐมภูมิ การขับเคลื่อนงานสร้างเสริมทันตสุขภาพ และการดูแลหลังใส่ฟันเทียม - สื่อสารและรณรงค์ ต้นแบบ “ฟันดี วัย 80 และ 90 ปี” - ฟันเทียมพื้นที่พิเศษ การพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร - อบรมทันตแพทย์ในการใส่ฟันเทียม - หลักสูตรทันตกรรมผู้สูงอายุ (หลักสูตร 4 เดือน)
ทิศทาง แนวทางการดำเนินการ ปี 2558 หญิงตั้งครรภ์และเด็กเล็ก:ANC, บ้าน, WCC ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล คลินิกทันตกรรม เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น: โรงเรียน บ้าน คลินิกทันตกรรม วัยทำงาน: คลินิกNCD,คลินิกทันตกรรม, สถานประกอบการ, ชุมชน ผู้สูงอายุ:ชมรมผู้สูงอายุในตำบล หน่วยบริการระดับต่าง ๆ สิ่งแวดล้อม: ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียน ชุมชน โรงพยาบาล งานบริการปฐมภูมิ: เครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ
ทิศทาง แนวทางการดำเนินการงานบูรณาการ ปี 2558
การบูรณาการงบประมาณ ในงานบริการปฐมภูมิ
บูรณาการระบบบริการปฐมภูมิบูรณาการระบบบริการปฐมภูมิ PP 5 กลุ่มวัย / ปฐมภูมิ / องค์รวม DHS : UCARE ; Unity / Community / Appreciation / Resource / Essential ปฐม ภูมิ “ประชาชนเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการประสานชุมชน Self Care” VISION ทารกแรกเกิด อุบัติเหตุ หัวใจและหลอดเลือด 5สาขาหลัก ทันตกรรม จิตเวช NCD มะเร็ง ไต ตา มาตราการ บูรณาการงาน ในรพสต. การสร้างการ มีส่วนร่วม พัฒนาบุคลากร ระบบสนับสนุนและM&E จากแม่ข่าย การมีส่วนร่วม ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ภาวะผู้นำและ ธรรมภิบาล เทคโนโลยี บริการ กำลังคน ระบบข้อมูล โครงการสป. โดย สบรส. โครงการกรม
การพัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอการพัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ การพัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ (Oral Health in District Health System) เป็นการเชื่อมโยงระหว่าง SERVICE PLAN และ DHSประกอบด้วย 1. พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ 2. พัฒนาระบบแผนแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากระดับเขตและจังหวัด 3. พัฒนาระบบสนับสนุนการดำเนินงานของเขตสุขภาพ และระบบเครือข่ายสุขภาพ ช่องปากระดับอำเภอ 4. จัดระบบการประเมินผลการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากในกลุ่มวัย