200 likes | 467 Views
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555. ห้องระชุม ร่มโพธิ์ทอง วันที่ 28 กรกฎาคม 2555 เวลา 8.30-16.30. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั่งยืน (ที่มา) กิจกรรมสำคัญ โรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ คือ วัณโรค โรคที่เป็นปัญหาเชิงนโยบาย คือ ไข้เลือดออก
E N D
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555 ห้องระชุม ร่มโพธิ์ทอง วันที่ 28 กรกฎาคม 2555 เวลา 8.30-16.30
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง • อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั่งยืน (ที่มา) • กิจกรรมสำคัญ • โรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ คือ วัณโรค โรคที่เป็นปัญหาเชิงนโยบาย คือ ไข้เลือดออก • ทุกพื้นที่เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผู้ว่าราชการจังหวัด ปี 2556 • อบรม SRRT ทุก รพ.สต เพื่อ PCU มีการเฝ้าระวังเหตุการณ์ และKey event online
ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว:SRRT(Surveillance and Rapid Response Team) • เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง • ตรวจจับ public health emergency • ออกสอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว • ควบคุมโรคฉุกเฉิน/ขั้นต้น เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดไม่ให้ขยายวงกว้าง • แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรค
หลักการทำงานของSRRT “ตัดไฟแต่ต้นลม” ทีมในพื้นที่เกิดเหตุ ดำเนินการก่อน ทีมในพื้นที่ทีมแรกสุด คือ ทีมระดับอำเภอ
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ดำเนินการตามพันธกิจด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) จัดทำแผน และซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด๓ ระยะ คือ ก่อน ระหว่าง และภายหลังเกิดเหตุ พัฒนาทีม SRRT
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การดำเนินงานกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) ร่วมมือกับนานาชาติในการเฝ้าระวังและรายงานภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern, PHEIC) พัฒนาขีดความสามารถของประเทศ ๔ ด้าน ในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ด้านการเฝ้าระวังสอบสวนโรค ด้านการดูแลผู้ป่วยโรคติดต่ออันตราย ด้านห้องปฏิบัติการ ด้านช่องทางเข้าออกประเทศ 6
ยุทธศาสตร์ IHR ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค (2552-2555) 1.พัฒนาทีม SRRT ทุกระดับให้มีขีดความสามารถสูง 2.พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัดและส่วนกลาง 3.พัฒนาโรงพยาบาลทุกแห่งในการตรวจจับ PHEIC 4.ส่งเสริมสนับสนุนองค์กรท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมดำเนินการ 5.สนับสนุนชุมชนในการเฝ้าระวังโรค/ภัยในชุมชน
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ส่งเสริมสนับสนุนขีดความสามารถด้านการสอบสวนและควบคุมการระบาด รวมทั้งการเก็บและนำส่งวัตถุตัวอย่าง พัฒนาและใช้มาตรฐานทีม SRRT ฉบับใหม่ที่สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) สนับสนุนการจัดตั้งทีม SRRT ท้องถิ่น(เทศบาลนคร/เมือง) พัฒนาหัวหน้าทีม SRRT และผู้สอบสวนหลัก (PI) สนับสนุนทีม SRRT เข้าร่วมการฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - แผนรับการระบาดของไข้หวัดใหญ่ 8
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาให้ครอบคลุมปัญหาที่สำคัญ และเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ พัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดทำข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาด้านบริหารจัดการ ในการใช้ประโยชน์ข้อมูล เฝ้าระวังวัณโรคร่วมกับ สปสช. (SMART TB) 9
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เร่งรัดความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง AEFI และ AFP พัฒนาระบบและมาตรฐานเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIVรายใหม่ พัฒนาระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (VIS) พัฒนาระบบเฝ้าระวังสอบสวนการจมน้ำ ตกน้ำ พัฒนาการรายงาน Chronic Diseases Surveillance พัฒนาการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อ 10
สรุปแนวทางกรมควบคุมโรคสรุปแนวทางกรมควบคุมโรค ด้านงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและ SRRT • “งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา” • มีระบบและเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาสำคัญที่ไว และมีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมการใช้ข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาในการเตือนภัย ปรับมาตรการ และจัดทำแผน/ยุทธศาสตร์ • ส่งสัญญาณเตือนแจ้งทีม SRRTรวดเร็วทันเหตุการณ์ 11
สรุปแนวทางกรมควบคุมโรคสรุปแนวทางกรมควบคุมโรค ด้านงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและ SRRT • “งาน SRRT” • มีทีมที่มีขีดความสามารถสูงได้มาตรฐานตาม IHR ทุกหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นถึงระดับชาติ • สามารถปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ทันที ทุกระดับความรุนแรง • เป็นทีมข่าวกรองที่ช่วยตรวจสอบข่าวสารการเฝ้าระวังฯ 12
สรุปแนวทางกรมควบคุมโรคสรุปแนวทางกรมควบคุมโรค ด้านงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและ SRRT “บูรณาการงานระบาดวิทยา” งาน IHR (เฝ้าระวังโรคระหว่างประเทศ) งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยาคลินิก (ใน ร.พ.) งาน SRRT 13
งานระบาดวิทยา • ด้านการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญ • ทบทวนการส่งรายงาน 506 • การประสานการสอบสวนโรค • รายงานการสอบสวน (เดิม) • ด้านการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ • ไม่มีการสอบสวน • มีการสอบสวนแต่ไม่สมบูรณ์ เช่น • กำหนดนิยามไม่ถูกต้อง • เก็บตัวอย่างไม่ได้ ไม่ครบ • ตามสอบไม่ได้ • ใช้แบบสอบสวนไม่ถูกต้อง เหมาะสม • ฯลฯ
ปัญหาการเขียนรายงานและแนวทางแก้ไขปัญหาการเขียนรายงานและแนวทางแก้ไข • มีการสอบสวนแต่ไม่เขียนรายงานการสอบสวน • เขียนรายงานการสอบสวนแต่ไม่รายงาน • เขียนรายงานการสอบสวนและรายงาน • ทบทวนการเขียนรายงาน – เบื้องต้น /กึ่งสมบูรณ์ / สมบูรณ์ • ทบทวนส่งรายงานการสอบสวน – ส่งเมื่อไหร่ / ส่งผ่านใคร /ส่งอย่างไร • ข้อสรุปเหตุการณ์ที่ต้องสอบสวนและเขียนรายงานการสอบสวนเบื้องต้น
งานระบาดวิทยา • ทบทวนขั้นตอนการเก็บ lab ส่งตรวจในงานระบาดวิทยา • แจ้งจังหวัดบันทึกในสมุดเฝ้าระวัง • ส่งแบบสอบพร้อมตัวอย่างที่ศูนย์วิทย์อุดร • ศูนย์วิทย์แจ้ง สคร.6 ขอสนับสนุนเงินค่าตรวจ • ศูนย์วิทย์ แจ้งผล lab แก่ รพ./สำเนาเรียน สสจ. • เฝ้าระวังระบาดของโรคในชาวต่างชาติ • โรคที่ต้องรายงานที่สำคัญ
โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง • 1. ไข้หวัดนก • 2. อหิวาตกโรค • 3. ไข้กาฬหลังแอ่น • 4. ไข้คอตีบ • 5. ไข้สมองอักเสบ • 6. ปอดอักเสบ 7. พิษสุนัขบ้า 8. แอนแทรกซ์ 9. บาดทะยักในทารกแรกเกิด 10. กล้ามเนื้ออัมพาตอ่อน ปวกเปียกแบบเฉียบพลัน 11. AEFI
โรคเร่งด่วนที่ต้องรายงานภายใน 4 วัน • 1. บิด • 2. ไข้หวัดใหญ่ • 3. หัด • 4. ไอกรน • 5. ไข้เดงกี่ (Dengue Fever) • 6. ไข้เลือดออก • 7. ไข้เลือดออกช๊อค (DSS) • 8. เลปโตสไปโรซิส • 9. Hand Foot Mouth Disease (HFMD)
โรคติดต่อสำคัญที่ต้องรายงานภายใน 1 สัปดาห์ • 11. ไข้ที่ไม่พบความผิดปกติ (FWLS) • 12. โปลิโอมัยเอไลติส • 13. บาดทะยัก • 14. มาลาเรีย • 15. วัณโรคปอด และอวัยวะอื่น ๆ • 16. สคับไทฟัส • 17. ทริคิโนซิส • 18. คางทูม • 19. Meningitis • 20. Herpangina • 1. อุจจาระร่วง • 2. อาหารเป็นพิษ • 3. Enteric Fever • 4. Typhoid • 5. Paratyphoid • 6. Salmonellosis • 7. ตับอักเสบ • 8. โรคตาแดง • 9. หัดเยอรมัน • 10. สุกใส