460 likes | 903 Views
à¸à¸²à¸£à¸Šà¸”เชยค่าบริà¸à¸²à¸£à¸à¸à¸‡à¸—ุนโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2555. Hemodialysis. Peritoneal Dialysis. Kidney Transplantation. คณะà¸à¸£à¸£à¸¡à¸à¸²à¸£ / คณะทำงาน ที่เà¸à¸µà¹ˆà¸¢à¸§à¸‚้à¸à¸‡à¹ƒà¸™à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นาระบบ. คณะà¸à¸£à¸£à¸¡à¸à¸²à¸£ 1. คณะà¸à¸£à¸£à¸¡à¸à¸²à¸£à¸ªà¸™à¸±à¸šà¸ªà¸™à¸¸à¸™à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นาระบบบริà¸à¸²à¸£à¸—ดà¹à¸—นไตในระบบหลัà¸à¸›à¸£à¸°à¸à¸±à¸™à¸ªà¸¸à¸‚ภาพถ้วนหน้า (ส่วนà¸à¸¥à¸²à¸‡)
E N D
การชดเชยค่าบริการกองทุนโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2555 Hemodialysis Peritoneal Dialysis Kidney Transplantation
คณะกรรมการ / คณะทำงาน ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบ คณะกรรมการ 1. คณะกรรมการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(ส่วนกลาง) 2. คณะกรรมการพิจารณากรณีผู้ป่วยไม่สามารถ ทำการล้างไตผ่านทางช่องท้อง (CAPD) ( ส่วนกลาง) 3. คณะกรรมการเพื่อสนับสนุนผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วน หน้าให้เข้าถึงการบริการทดแทนไต ระดับจังหวัด คณะทำงาน 1. คณะทำงานพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะและการ ปลูกถ่ายไต ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2. คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลการทดแทนไต ในระบบหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า
คณะกรรมการไต ฯ ระดับจังหวัด 1. ผู้อำนวยการสำนักงานสาขาจังหวัด เป็นประธานกรรมการ 2. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือผู้แทน เป็นกรรมการ 3. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยหรือผู้แทน (ถ้ามี) เป็นกรรมการ 4. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์หรือผู้แทน (ถ้ามี) เป็นกรรมการ 5. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไปหรือผู้แทน เป็นกรรมการ 6. ผู้ทรงคุณวุฒิหรือสื่อมวลชนในจังหวัดที่ผู้อำนวยการ เป็นกรรมการ สำนักงานสาขาจังหวัดเห็นชอบ จำนวนไม่เกิน ๒ คน 7. แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคไต หรือแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ ในจังหวัดที่ผู้อำนวยการสำนักงานสาขาจังหวัดเห็นชอบ จำนวนไม่เกิน ๒ คน 8. ประธานชมรมเพื่อนโรคไต ในจังหวัด (ถ้ามี) หรือผู้แทนผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง เป็นกรรมการระยะสุดท้ายในจังหวัด จำนวน ๑ คน เป็นกรรมการ 9. เจ้าหน้าที่ที่ผู้อำนวยการสำนักงานสาขาจังหวัดมอบหมาย เป็นกรรมการ และเลขานุการ ในกรณี ทึ่มีความจำเป็นผู้อำนวยการสำนักงานสาขาจังหวัดอาจแต่งตั้งกรรมการ เพิ่มขึ้นได้อีก จำนวนไม่เกิน ๒ คน ให้นายกเหล่ากาชาดจังหวัด เป็นที่ปรึกษา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ดูแลพื้นที่จังหวัด เป็นที่ปรึกษา ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพสาขาเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ เป็นที่ปรึกษา
คณะกรรมการฯไต ระดับจังหวัด (ต่อ) บทบาทหน้าที่ 1.พิจารณา คัดเลือก จัดลำดับ และกำหนดให้ผู้ป่วย ESRD ที่มีสิทธิ เข้ารับบริการ CAPD หรือ HD หรือ KT ตามลำดับ และตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ และแนวทางที่ กำหนด 2.พิจารณาเปลี่ยนแปลงวิธีการ CAPD เป็น HD อย่างถาวรตามข้อบ่งชี้ ข้อห้าม 3.เสนอแนะการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงบริการทดแทนไตของผู้ป่วยไต
(ฟรี) ผ่าตัด / รับยากดภูมิ ผ.ป.KT HD ไม่ยอมทำ CAPD (จ่ายเงินเอง) (ฟรี) CAPD ทำ PD ได้ ผ.ป.ใหม่ มี Indication เปลี่ยนเป็น HD(ชั่วคราว / ถาวร) ทำ PD ไม่ได้ HD (ฟรี) มี Contra indication ทำ PD ไม่ได้ (ชั่วคราว / ถาวร) HD (Copay) ผ.ป.HD เก่า สรุปสิทธิประโยชน์ผู้ป่วยในการบำบัดทดแทนไต Epo ผ.ป.HD ใหม่ 5 (ผ.ป.HD เก่า คือผู้ป่วยที่ทำ HD ตั้งแต่ก่อน 1 ต.ค.2551 และหมายความรวมถึงผู้ที่เคยมีสิทธิ์ประกันสังคมและข้าราชการเดิมด้วย)
เงื่อนไขการมีสิทธิ HD • การShift จาก PD เป็น HD • 1) ข้อบ่งชี้ HD ชั่วคราว • มีการอักเสบของช่องท้องที่รักษาแล้วไม่ดีขึ้น • มีการอักเสบของช่องท้องจากเชื้อรา • มีการอักเสบประจำของแผลหน้าท้องที่วางสาย • มีการอักเสบของสายต่อของท่อในช่องท้อง • มีการอักเสบติดเชื้อภายในช่องท้อง • ได้รับการผ่าตัดอวัยวะในช่องท้อง • 2) ข้อบ่งชี้ HD ถาวร • น้ำยารั่วออกจากช่องท้องประจำไม่สามารถทำ CAPD • เยื่อบุช่องท้องเป็นพังผืดไม่สามารถทำ CAPD • ภาวะซึมเศร้าอย่างรุนแรง ไม่สามารถทำ CAPD • การทำ HD เนื่องจากทำ PD ไม่ได้ • 1) ข้อห้ามสัมพัทธ์ของการทำ CAPD (เมื่อหมดข้อห้ามแล้วให้กลับมาทำ CAPD ได้) • มีสิ่งแปลกปลอมในช่องท้องมาก่อน เช่น ใส่เส้นเลือดเทียม เป็นต้น • มีไส้เลื่อนที่ยังไม่แก้ไข หรือมีช่องทางติดต่อระหว่างกับอวัยวะภายนอก • อ้วนมาก (BMI>35 กก./ตรม.) • มี Recurrent diverticulitis หรือการอักเสบของลำไส้บ่อยๆ • มีการผ่าตัดนำกระเพาะหรือลำไส้ออกมาทางหน้าท้อง • ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองในการทำ CAPD ได้ • 2) ข้อห้ามสมบูรณ์ของการทำ CAPD • มีรอยโรคบริเวณผิวหนังหน้าท้องที่ไม่สามารถวางสายได้ • มีพังผืดภายในช่องท้องไม่สามารถวางสายได้ • มีสภาพจิตบกพร่องอย่างรุนแรง ซึ่งอาจกระทบต่อการรักษาด้วยวิธี CAPD
เงื่อนไขการมีสิทธิ HD (ต่อ) • ความเห็นเพิ่มเติมจากสมาคมโรคไตฯ • ผู้ป่วย mental retardation จัดเป็นผู้ป่วยที่มีสภาพจิต บกพร่องรุนแรงฯ ซึ่ง • อาจมีผลกระทบต่อการรักษาด้วยวิธี CAPD ถือเป็นข้อห้ามสมบูรณ์ • ภาวะพังผืดในช่องท้องที่เป็นข้อห้ามสมบูรณ์ ต้องมีหลักฐานทาง การแพทย์บ่งบอกชัดเจนว่า มี Peritoneal fibrosis หรือperitonealsclerosis • หรือมี bowel adhesion • ภาวะ Pleuro Peritoneal Fistula ถือเป็นข้อห้ามของการล้างไต • ภาวะรอยโรคบริเวณผิวหนังหน้าท้องที่ไม่สามารถวางสายได้นั้น มี ความหมาย ถึง รอยโรคที่เป็นถาวรในบริเวณผิวหนังที่จะทำการผ่าตัดวาง สาย Tanckhoff ได้แก่ แนว Midline หรือ Paramedian และผิวหนังบริเวณ • ที่จะทำ Exit site ซึ่งรอยโรคดังกล่าวจะเป็นอุปสรรคต่อ Healing หรือ • เสี่ยงต่อการติดเชื้อ • กรณี ผป. มีข้อบ่งชี้ /ข้อห้าม ที่ไม่ตรงตามที่สมาคมกำหนดให้ส่ง • คณะกรรมการไต ฯ (ชุดเล็ก ที่ส่วนกลาง)
การจ่ายชดเชยค่าบริการ RRT: CAPD สาย TK ผ่าน VMI ผ่าตัดวางสาย แพทย์ผ่าตัดวางสาย TK 2000 บาท/ราย น้ำยา PD ผ่าน VMI ค่าบริการ (หน่วยบริการ) 4,000 บาท/ราย/เดือน ล้างไตหน้าท้อง ผ.ป.CAPD ค่าภาระงาน (ทีมงาน) 2,000 บาท/ราย/เดือน กิจกรรมอาสาสมัคร (ผ.ป.> 30 ราย) 60,000 บาท/ปี ยา EPO (ตามระดับ Hct) ผ่าน VMI ยา EPO ค่าบริหารจัดการยา EPO ไม่เกิน 200 บาท/เดือน Temp HD Temp HD 1,500 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 90 วัน /ปี 9
แนวทางการสนับสนุน CAPD ตั้งแต่ 1 พค.52 ส่วนที่ 1 การสนับสนุน ผ่าน VMI(เบิกผ่าน DMIS_CAPD) 1.1 น้ำยา CAPDและ อุปกรณ์ - ไม่เกิน 124 ถุง : ราย : เดือน - ระบบ Lock การเบิกได้ไม่เกิน 248 ถุง : ราย : ครั้ง - ระบบ Lock วันที่สั่งน้ำยา ต้องห่างกัน 20 วัน - ระบบ Lock วันที่ส่งน้ำยา ต้องภายหลังจากวันที่สั่ง 7 วัน 1.2 ยา EPO - ตามระดับ Hct.และชื่อยา (ตามประกาศ) 1.3 สาย Tenchkoff catheter - ไม่เกิน 1 เส้น / 1 ราย / ปี ยกเว้นที่มีความจำเป็น
แนวทางการสนับสนุน CAPD (ต่อ) ส่วนที่ 2 : สนับสนุนค่าบริการ CAPD 2.1 ค่าชดเชยแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการสำหรับการให้บริการ - การประเมินสภาพร่างกาย ผู้ป่วย - การดูแลแบบ OP IP ที่เกี่ยวกับ CAPD - ค่ายาพื้นฐาน และ ยารักษาโรคอื่นที่เกี่ยวข้องกับCAPD - ภาวะแทรกซ้อนโดยตรงจาก CAPD อัตรา: 4,000 บาท/ผป.1 ราย/เดือน วิธีการเบิก : บันทึกข้อมูลการบริการ FU ผู้ป่วย ใน DMIS_CAPD ทุกเดือน ตัดข้อมูลทุกวันสิ้นเดือน ชดเชย เดือนละ 1 ครั้ง
แนวทางการสนับสนุน CAPD (ต่อ) ส่วนที่ 2 : สนับสนุนภาระงาน CAPD 2.2 ค่าสนับสนุนตามภาระงาน แก่หน่วยบริการ สำหรับ แพทย์ พยาบาล จนท.ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ของหน่วยไตเทียมหรือCAPD ที่แยกระบบบริการ ต่างหากเพื่อจัดบริการ ให้ความรู้ ผู้ป่วย เยี่ยมบ้าน ปรึกษาทางโทรศัพท์ อัตรา : 2,000 บาท / ผป.1 ราย / เดือน วิธีการเบิก :หน่วยบริการทำแผน (แบบ CAPD 1) เสนอแผนต่อ สปสช. ( ผ่านเขต ) บันทึกข้อมูลการ FU ผป.DMIS_CAPD ทุกเดือน ตัดข้อมูลทุกวันสิ้นเดือน ชดเชยเดือนละ 1 ครั้ง
แนวทางการสนับสนุน CAPD (ต่อ) ส่วนที่ 2 : สนับสนุนภาระงานแพทย์วางสาย CAPD 2.3 ค่าสนับสนุนตามภาระงานแก่ แพทย์ ที่ผ่านการอบรมวางสาย Tenchkoff catheter อัตรา : จ่าย 2,000 บาท /ราย เมื่อวางสายสำเร็จ วิธีการเบิก- สปสช. พิจารณาขึ้นทะเบียน แพทย์ - หน่วยบริการ Key การวางสาย และ วันที่ทำสำเร็จ ใน DMIS_CAPD - ตัดข้อมูล ทุกวันสิ้นเดือน จ่ายเดือนละครั้ง
แนวทางการสนับสนุน CAPD (ต่อ) ส่วนที่ 2 : การสนับสนุนกิจกรรม 2.4 สนับสนุนจัดกิจกรรมอาสาสมัครเฉพาะหน่วยที่มี ผป.CAPD ใน ความดูแลมากกว่า 30 คนขึ้นไป อัตรา : 60,000 บาท / หน่วย /ปี วิธีการเบิก : หน่วยบริการ ทำโครงการ ตามแบบ CAPD 2 P เสนอ โครงการต่อ สปสช. ผ่านเขต รายงานผลงาน ทุกปี ตาม แบบ CAPD 2 R
แนวทางการสนับสนุน CAPD (ต่อ) หลักเกณฑ์การสนับสนุนและชดเชย - ผู้ป่วย ต้องมีสิทธิ UC - ลงทะเบียนใน DMIS_CAPD และ บันทึกผลการติดตามทุกเดือน - เมื่อ ผู้ป่วย ย้ายหน่วยบริการ สปสช. จะจ่ายให้หน่วยบริการที่ให้ การรักษา - ทำ Temporary ไม่เกิน 90 วัน / ปี จ่าย 1500 บาท / ครั้ง - กรณีเปลี่ยนเป็น Permanent HD ต้องเข้า คณะกรรมการฯ จังหวัด - กรณีมีภาวะแทรกซ้อน อื่นๆ นอกเหนือจาก CAPD / ให้เบิก ตามระบบปกติ สปสช.
สิ่งที่ควรทำ Key ข้อมูลใน DMIS_CAPD ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา • สนับสนุนน้ำยา CAPD , สาย TK , ตัดข้อมูลทุกวัน • ข้อมูลการรักษา ติดตามผล , ค่าภาระงาน ตัดข้อมูลทุกสิ้นเดือน • ยา EPO Key ตัดข้อมูลทุกเดือน+ 15 วัน ของเดือนถัดไป ตรวจสอบข้อมูล • สนับสนุนน้ำยา CAPD , สาย TK , หน้ารายงานใน DMIS_CAPD • ข้อมูลการรักษา/ติดตามผล , ค่าภาระงานแพทย์ NHSO Budget • ยา EPO หน้ารายงาน EUR ใน DMIS_CAPD หรือ WEB กองทุนไต
Hemodialysis (HD)การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม • เป็นวิธีการบำบัดทดแทนไตผู้ป่วยด้วยเครื่องไตเทียม หรือเครื่องฟอกเลือด โดยหลักการเครื่องไตเทียมนี้ คือนำเลือดของ ผป.เข้าไปผ่านการกรองในเครื่องไตเทียม ต้องใช้เวลาในการฟอกเลือดครั้งละ 4- 5 ชั่วโมงและทำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2- 3 ครั้ง ตามอาการผู้ป่วย ข้อดี - ผป.ไม่ต้องมีท่อ /สายคาอยู่ที่หน้าท้อง - เหมาะสำหรับ ผป.ที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ข้อเสีย - ต้องจำกัดอาหาร โปรตีน น้ำ เกลือโซเดียม และโพแทสเซียม โดยเคร่งครัด - ทำเองที่บ้านไม่ได้ ต้องมาทำที่ รพ./สถานพยาบาล
แนวทางการจัดบริการ HD การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ • ส่งหนังสือแสดงความจำนง • ใช้เกณฑ์ประเมิน ตรต. (สมาคมโรคไตฯ) • เขตขึ้นทะเบียน ประเภท 2.1 หน่วยบริการ / สถานบริการทำสัญญาระยะยาว 2.2 สถานบริการทำสัญญา ชั่วคราว ( พยายาม2.1) การลงทะเบียนผู้ป่วย • ผู้ป่วย ที่ผ่าน คณะกรรมการฯจังหวัด • ลงทะเบียนในโปรแกรม DMIS_HD • IT ส่งชื่อ ลงทะเบียนในโปรแกรม สกส. เดือนละ 2 ครั้ง วิธีการเบิกชดเชย • Key เบิกผ่านโปรแกรม สกส.
ประกาศ หลักเกณฑ์การให้บริการ HD(ตั้งแต่1 สค 52 ) • ค่าฟอกเลือด HD ไม่จำกัดจำนวนครั้งต่อสัปดาห์ ตามหลักเกณฑ์ของสมาคมโรคไตฯ • ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง สปสช. จะชดเชยค่าบริการ HD ให้ในอัตรา 1,200 และ1,700 บาท/ครั้ง(อายุมากกว่า 60 ปี + มีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่น ผ่านคณะกรรมการรับรอง) + ฟอกเลือดในหน่วยบริการ ประเภท 2.1 ที่มีบริการ ICU ) • เบิกยา EPO ชดเชยได้ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด พิจารณาจาก - ระดับ HCT - รายการยาที่เลือก ( รายละเอียด ตามประกาศ) 4. ค่าบริหารจัดการ ค่าบริการอื่นๆ เรื่องยา 50 บาท/ราย หรือ 200 บาท/เดือน • การทำ Shunt ชดเชยค่าบริการเหมาจ่าย หมายเหตุ : สิทธิของผู้ป่วย จะได้รับในวันที่ผ่านการพิจารณา อนุมัติจากคณะกรรมการระดับ จังหวัด และ สปสช.ได้ ส่งรายชื่อเข้าในโปรแกรม สกส.
การจ่ายชดเชยค่าบริการ RRT : HD เตรียมเส้นเลือด ค่าทำvascular access 8,000 – 22,000 บาท/ครั้ง ≤ 60 ปี 1,000 บาท/ครั้ง รายใหม่(criteria) รายเก่า (copay) 500บ. > 60 ปี 1,200 บาท/ครั้ง ผ.ป.HD ค่าฟอกเลือด ≤ 60 ปี 1,500 บาท/ครั้ง > 60 ปี 1,700 บาท/ครั้ง ยา EPO ผ่าน VMI ยา EPO ค่าบริหารจัดการยา EPO ไม่เกิน 200 บาท/เดือน ผ.ป.HDใหม่ที่ไม่มีสิทธิ (ผ.ป.HD เก่า คือผู้ป่วยที่ทำ HD ตั้งแต่ก่อน 1 ต.ค.2551 และหมายความรวมถึงผู้ที่เคยมีสิทธิ์ประกันสังคมและข้าราชการเดิมด้วย) ผป.HD รายใหม่ที่ไม่มีสิทธิ คือ ผป.หลัง 1ตค51 ที่สมัครใจ HD โดยจ่ายค่า HD เอง การรับยา EPO เสนอชื่อ ผ่านคกก. จว. ลงทะเบียนเหมือน ผป.HD ต้อง รับบริการใน หน่วย 2.1 22
สรุปแนวทางการให้สิทธิผู้ป่วย HDรายใหม่ที่จ่ายเงินเอง ได้รับยา Epo หน่วยบริการเสนอชื่อ ผ่านคณะกรรมการ จว. เพื่อรับรอง ลงทะเบียน เหมือนผู้ป่วย HD ทั่วไป รับสิทธิ เฉพาะ การรับยา EPO และ ค่าบริหารยา เหมือนผู้ป่วย HD ทั่วไป การรับยา ต้องรับยาเมื่อมารับบริการ HD ในหน่วยบริการ / สถานบริการ 2 .1 เท่านั้น ไม่ให้ ผป.นำยาไปฉีดเอง
ชนิดของ Vascular Access • ชั่วคราว ได้แก่ Tempolary Double Lumen Catheter(TDC) • ถาวร ได้แก่ A-V fistular (AVF) A-V Graft (AVG) Tunnel cuffed catheter(TCC) หรือ Perm cath
การเบิกค่าทำ Shunt สำหรับผู้ป่วย HD ตั้งแต่ 1 มค 53
การเบิกค่าทำ Shunt สำหรับผู้ป่วย HD ตั้งแต่ 1 มค 53
การเบิกค่าทำ Shunt สำหรับผู้ป่วย HD ตั้งแต่ 1 มค 53
การเบิกค่าทำ Shunt สำหรับผู้ป่วย HD ตั้งแต่ 1 มค 53
การเบิกค่าทำ Shunt สำหรับผู้ป่วย HD ตั้งแต่ 1 มค 53 ปี = ปีงบประมาณ วิธีการเบิก >>> E-claim / Paper Claim
หมายเหตุ • ผู้ป่วยที่ใหม่ที่ต้องทำ temporary HD ก่อนทำ CAPD ให้รวมค่าสาย Temporary double lumen catheter อยู่ในค่าเหมาจ่าย 4,000 บาท/คน/เดือน • ผู้ป่วย CAPD ที่ต้องทำ temporary HD หลังจากเริ่มทำ CAPD เนื่องจากมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ให้รวมค่าสาย Temporary double lumen catheter อยู่ในค่าเหมาจ่าย 4,000 บาท/คน/เดือน • ในกรณีที่หน่วยบริการหรือสถานบริการมีความจำเป็นต้องใช้รายการต่างๆ หรืออุปกรณ์ในการรักษาเพิ่มเติมจากที่ สปสช.กำหนดไว้ และมีค่าใช้จ่ายที่สูงชัดเจน หน่วยบริการหรือสถานบริการ สามารถอุทธรณ์หน่วยบริการดังกล่าวที่ สปสช.ได้
แนวทางการสนับสนุนยา Erythropoietin(EPO)(ยาฉีดกระตุ้นเม็ดเลือดแดง)
เงื่อนไขการรับการสนับสนุนยา EPO • ผู้ป่วย CAPD และ HD ทุกรายที่มีความจำเป็น • สนับสนุนเป็นยา ผ่านระบบ VMI • สนับสนุนค่าบริหารจัดการ ค่าบริการอื่น ๆ รวมค่าส่งข้อมูล 50 บาท /การ ให้ยา 1 ครั้ง และรวมทั้งเดือนไม่เกิน 200 บาท/เดือน • การให้ยาตัวใด ต้องให้ต่อเนื่องอย่างน้อย 1 ปี ถ้าจำเป็นต้องเปลี่ยน ให้ รายงานโดยบุคลากรทางการแพทย์มายัง สปสช. • การให้ EPOใน HD ต้องฉีดในหน่วย HD เท่านั้น • การให้ EPO ใน CAPD สามารถฉีดได้ที่ หน่วยบริการ / รพ. / สอ. (ที่เป็น เครือข่าย CAPD ของหน่วยบริการแล้ว) • การคำนวณยา EPO ใช้จากค่า Hct โดยใช้ค่าต่ำสุด (CAPD 2 เดือน HD 4 Wk.
การออกรายงานจ่ายชดเชยการออกรายงานจ่ายชดเชย
การบริการปลูกถ่ายไตและยากดภูมิคุ้มกันในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติการบริการปลูกถ่ายไตและยากดภูมิคุ้มกันในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • Kidney Transplantation • Immunosuppressive drug กองทุนโรคไตวาย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไตหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายไต • กระทรวงสาธารณสุข • สภากาชาดไทย • มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย • แพทยสภา • สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย • สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะ • สปสช.
เป้าหมายและแผนงาน KT 1. ให้บริการผู้ป่วยรายเก่า 800 ราย และ รายใหม่ 200 ราย 2. สนับสนุนกิจกรรมเตรียมความพร้อม Living Donor 13 เขต 3.สนับสนุนการพัฒนา Excellence Center for KT กระจายทุกภูมิภาค 4. สนับสนุน Donor Hospital 11 แห่ง 5. พัฒนาศักยภาพ Tx Co-ordinator 25 คน 6. ควบคุมคุณภาพและราคายากดภูมิ ให้ลดลงไม่น้อยกว่า 20 % 7. ให้ความสำคัญกับ Living related donor คู่ไปกับ Cadaveric donor 8. เร่งพัฒนาระบบบริจาคและบริหารอวัยวะ ให้กระจายสู่ภูมิภาค 9. ประชาสัมพันธ์ สร้างแรงจูงใจในการบริจาคอวัยวะ และสนับสนุนให้มีการ ให้สิทธิและดูแลสุขภาพของผู้บริจาคไตอย่างสม่ำเสมอ
หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ ปลูกถ่ายไต
การจ่ายชดเชยค่าบริการ RRT ปี 2555 ค่าเตรียมผ่าตัด 40,000 บาท ผู้บริจาคมีชีวิต ค่าผ่าตัดนำอวัยวะออก 32,800 บาท ผู้บริจาคไต ผู้บริจาคสมองตาย ค่าผ่าตัดนำอวัยวะออก 40,000 บาท ผ.ป.KT ระหว่างรอ ค่าตรวจ PRA ทุก 3 เดือน1,800 บาท/ครั้ง ค่าเตรียมผ่าตัด 31,300 บาท ผู้ป่วย ค่าผ่าตัดเปลี่ยนไต ตาม Protocol หลังผ่าตัด ค่ายากดภูมิ 30,000-15,000 บาท/ราย/เดือน
อัตราจ่ายกรณีไม่มีภาวะแทรกซ้อนอัตราจ่ายกรณีไม่มีภาวะแทรกซ้อน
อัตราจ่ายกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนร่วมด้วยอัตราจ่ายกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนร่วมด้วย
ยากดภูมิคุ้มกันหลังผ่าตัดปลูกถ่ายไตยากดภูมิคุ้มกันหลังผ่าตัดปลูกถ่ายไต kt13777 kt13777
หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการยากดภูมิคุ้มกันหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการยากดภูมิคุ้มกัน
ติดต่อสอบถาม / ข้อเสนอแนะ เว็บไซด์กองทุนโรคไตวาย http://kdf.nhso.go.th