190 likes | 509 Views
แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิ สติกส์ อุตสาหกรรม (พ.ศ. 2555-2559). สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม. เหตุผลและความจำเป็น. New Information Technology & Communication. AEC/ FTA. Global Warming Concern. Consumer Behavior Changes. Logistics and
E N D
แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม (พ.ศ. 2555-2559) สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม
เหตุผลและความจำเป็น New Information Technology & Communication AEC/ FTA Global Warming Concern Consumer Behavior Changes Logistics and Supply Chain Trends Facilitation for Transportation and Trade
Logisticsvs. Supply Chain ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายวางแผน ฝ่ายขาย/ การตลาด Movement of Goods, Information Flows, Transfer of Title, Purchase and Sale ฝ่ายบริการลูกค้า/ คลังสินค้า/ จัดส่ง ฝ่ายผลิต / โรงงาน 5
รง. 8, รง. 9 สศอ. รายปี Professional Manufacturing Logistics Management ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นมืออาชีพ ด้านโลจิสติกส์ฯ ภาคอุตสาหกรรม LSIC กพร. ข้อมูล และฐานข้อมูล ราย 5 ปี I/O Table สศช. • Implement Logistics Clinic Projects Nation Wide • Intensive Capacity Building for Professional Development • Best Practice, Lessons Learned & Benchmarks • for Continuous Improvement • Utilize IT & Innovation for Business Efficiency & • Green Logistics ราย 10 ปี Industrial Census สสช. ต้นทุนการถือครอง สินค้าคงคลัง ภาคอุตสาหกรรมเป็น 1 ในร้อยละ 3 Supply Chain Collaboration and Networking ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ และการเชื่อมโยงฯ ของภาคอุตสาหกรรม KPI ต้นทุน/GDPลดลงร้อยละ 15 ใน 5 ปี ต้นทุนค่าขนส่ง ภาคเกษตรกรรม ต้นทุนบริหารจัดการ เป้าหมายประเทศลดลง ร้อยละ 3 ใน 5 ปี ตัวชี้วัด แผนแม่บท โลจิสติกส์ • Create Opportunity & Incentives for Collaboration • Create Tools for Information Sharing & Activities Integration • Develop Standards for Business Networking Promotion KPI เพิ่มประสิทธิภาพ 3 มิติร้อยละ 10 ใน 5 ปี Internal Logistics ภาคการค้า และบริการ National Supply Chain Competitiveness Enabling Factors ยุทธศาสตร์การสนับสนุนให้เกิดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพิ่มขีดความสามารถฯ External Logistics อื่นๆ • Link Farmers & SMEs to Regional Supply Chain • Facilitate Trade & Transportation for Business Promotion • Strengthen LSP for Customer Services Improvement สำนันโลจิสติกส์กพร. กระทรวงอุตสาหกรรม หน่วยงานอื่น ภายใน อก. หน่วยงานรับผิดชอบ การแยกแยะที่มาของตัวชี้วัดแผนแม่บทการพัฒนา ระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม (พ.ศ. 2555 – 2559) หน่วยงาน ภาครัฐอื่นๆ ดำเนินการเอง ภาคเอกชน ผ่านสภา, สมาคมต่างๆ 8
Key to Success 2.Supply Chain Physical Link Collaboration Infrastructure & Regulation Logistics Service Provider Informational Link & Share Technology Alignment & Standardization Personnel Enhancing Tools 1.Business Firm Management Upstream Agriculture & SMEs 3.Enabling Factors 9
อุตสาหกรรมไทยมีระบบบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ที่มีประสิทธิภาพ และมีความร่วมมือทางธุรกิจที่เข้มแข็งตลอด โซ่อุปทาน สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืนในระดับสากล ร่างแผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม (พ.ศ. 2555 – 2559) 1. เพื่อสร้างความเป็นมืออาชีพในการจัดการด้านโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม (Business Logistics Professional) 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันระดับโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรมไทย (Supply Chain Competitiveness) 1. การสร้างความเป็นมืออาชีพด้านการจัดการโลจิสติกส์ในสถานประกอบการของภาคอุตสาหกรรม 2.การส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยธุรกิจในโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม 3. การสนับสนุนให้เกิดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของ โซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย 1.1 ให้คำปรึกษาเชิงลึก ให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรมในทุกภูมิภาค 2.1 ส่งเสริมให้เกิดโอกาสและแรงจูงใจสำหรับ การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการ ในโซ่อุปทาน 3.1 สร้างความเข้มแข็งให้ภาคเกษตรกรรม และ SMEs เชื่อมประสานเข้าสู่ระบบโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเป้าหมายอย่างยั่งยืน 1.2 พัฒนาบุคลากรด้านการจัดการโลจิสติกส์ในภาคอุตสาหกรรม ให้มีความเป็นมืออาชีพทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ 2.2 สร้างเครื่องมือและส่งเสริมกลไกให้เกิด กระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ประกอบการในโซ่อุปทาน 3.2 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่ง บนเส้นทางการค้าของอุตสาหกรรมเป้าหมาย 1.3 สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมด้านการจัดการโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำธุรกิจ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3.3 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ที่เข้มแข็งบนเส้นทางการค้าของอุตสาหกรรมเป้าหมายเชื่อมโยงถึงลูกค้าปลายทาง 2.3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบงานมาตรฐานของโครงข่ายธุรกิจระดับโซ่อุปทานทั้งภายใน ประเทศและระหว่างประเทศ 1.4 ส่งเสริมการใช้แนวทางและเครื่องมือการจัดการที่ดีเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (ร่าง) แผนแม่บทการพัฒนา (2555-2559) 10
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างความเป็นมืออาชีพด้านการจัดการ โลจิสติกส์ในสถานประกอบการของภาคอุตสาหกรรม • กลยุทธ์ที่ 1.1 ให้คำปรึกษาเชิงลึกให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรมในทุกภูมิภาค • การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อเตรียมพร้อมสู่สากล • การยกระดับศักยภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของกลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตชิ้นส่วนสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อรองรับฐานการผลิต AEC • การพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อการส่งออกกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน • การ Workshop สัญจรขยายผลความรู้ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภาคอุตสาหกรรมเพื่อความเข้มแข็งทางธุรกิจ • กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนาบุคลากรด้านการจัดการโลจิสติกส์ในภาค อุตสาหกรรมให้มีความเป็นมืออาชีพทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ • การสร้างนักจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนมืออาชีพระดับสากล • การสร้างที่ปรึกษาด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม • การจัดทำระบบ e-learning ด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเพื่อขยายผลรองรับ AEC • การเสริมสร้างความรู้ด้านโลจิสติกส์อุตสาหกรรมสำหรับบุคลากรภาคอุตสาหกรรมและบุคคลทั่วไป 11
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างความเป็นมืออาชีพด้านการจัดการ โลจิสติกส์ในสถานประกอบการของภาคอุตสาหกรรม • กลยุทธ์ที่ 1.3 สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมด้านการจัดการโลจิสติกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำธุรกิจ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม • การส่งเสริมประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการและบูรณาการข้อมูลเพื่อสร้างขีดความสามารถการแข่งขันในระดับสากล • การจัดทำ Best Practice ด้าน Green Logistics และ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อการส่งออก • กลยุทธ์ที่ 1.4 ส่งเสริมการใช้แนวทางและเครื่องมือการจัดการที่ดีเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • การตรวจประเมินการจัดการโลจิสิติกส์ภาคอุตสาหกรรมเพื่อเชิดชูเกียรติ เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) • ศูนย์บริการข้อมูลโลจิสติกส์ (Logistics Service Information Center : LSIC) เพื่อสร้างขีดความสามารถการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม • การจัดทำเครื่องมือพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานอย่างต่อเนื่องด้วยตนเองเพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางธุรกิจ (Self Continuous Improvement) 12
ยุทธศาสตร์ที่ 2 :การส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยธุรกิจในโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม • กลยุทธ์ที่ 2.1 ส่งเสริมให้เกิดโอกาสและแรงจูงใจสำหรับการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการในโซ่อุปทาน • การสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อการส่งมอบสินค้าคุณภาพและลดต้นทุน • การพัฒนาระบบสนับสนุนการเชื่อมโยงข้อมูลและเครือข่ายการขนส่งเที่ยวกลับ • กลยุทธ์ที่ 2.2 สร้างเครื่องมือและส่งเสริมกลไกให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ประกอบการในโซ่อุปทาน • การส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเชื่อมโยงธุรกรรมระหว่างองค์กรในโซ่อุปทาน • กลยุทธ์ที่ 2.3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบงานมาตรฐานของโครงข่ายธุรกิจระดับโซ่อุปทาน ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ • การพัฒนาและยกระดับระบบความน่าเชื่อถือด้านสุขอนามัยของสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อขยายตลาดเอเชียและสหภาพยุโรป • การจัดทำและส่งเสริมระบบมาตรฐานอุปกรณ์และระบบงานมาตรฐานการจัดการด้านโลจิสติกส์ของโซ่อุปทานภาคอุตสาหกรรม • การส่งเสริมมาตรฐานความปลอดภัยในโซ่อุปทานของสินค้าอุตสาหกรรมจากผู้ก่อการร้ายภัยพิบัติ หรือโจรกรรม 13
ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การสนับสนุนให้เกิดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย • กลยุทธ์ที่ 3.1 สร้างความเข้มแข็งให้ภาคเกษตรกรรม และ SMEs เชื่อมประสานเข้าสู่ระบบโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเป้าหมายอย่างยั่งยืน • การจัดทำระบบสนับสนุนโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิตที่เชื่อมโยงภาคเกษตรกรรมและ SMEs สู่สากล เช่น cool chain • กลยุทธ์ที่ 3.2 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่ง บนเส้นทางการค้าของอุตสาหกรรมเป้าหมาย • การสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมพัฒนาและใช้ประโยชน์ระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่งระหว่างประเทศ • การพัฒนาระบบการออกหนังสือรับรองการนำเข้าและส่งออกแบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อรองรับการเชื่อมโยงกับระบบ National Single Window • กลยุทธ์ที่ 3.3 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่เข้มแข็งบนเส้นทางการค้าของอุตสาหกรรมเป้าหมายเชื่อมโยงถึงลูกค้าปลายทาง • มาตรการสนับสนุนและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานรับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ทั้งในและต่างประเทศ 14
ขอบคุณครับ http://www.logistics.go.th Youtube = logistics dpim