370 likes | 615 Views
การควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544. บรรยายโดย ชูใจ บุญสุยา หน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1. ความหมายของการควบคุมภายใน.
E N D
การควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 บรรยายโดย ชูใจ บุญสุยา หน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ความหมายของการควบคุมภายในความหมายของการควบคุมภายใน เป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยงานกำหนดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ 3 ด้าน
วัตถุประสงค์การควบคุมภายใน (OFC) 1. ด้านการดำเนินงาน (Operations= O) มุ่งให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การทุจริต 2. ด้านการรายงานทางการเงิน (Financial Reportings =F) 3. ด้านการปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎ ระเบียบ และนโยบาย (Compliance = C)
การควบคุมภายใน ทำไมต้องทำ? จิตสำนึก ความรับผิดชอบ ระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 หากขาดไป อาจทำให้เสียหาย!! ช่วยให้หน่วยงานทำงานสำเร็จ
องค์ประกอบของการควบคุมภายในองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง ปัจจัย และสภาวะต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อทัศนะคติ และการตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายในของบุคลากรในหน่วยงาน สภาพแวดล้อมการควบคุมเป็นรากฐานสำคัญขององค์ประกอบอื่นของการควบคุม
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ต่อ) แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. การควบคุมโดยการสร้างจิตสำนึกและคุณภาพที่มองเห็นไม่ได้ เช่น ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส การมีผู้นำดี ความมีจริยธรรม (Soft Controls) 2. การควบคุมโดยกำหนดโครงสร้าง นโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบัติ (Hard Controls)
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ต่อ) ความซื่อสัตย์และจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เข้าใจขอบเขตอำนาจ หน้าที่ของตนเอง บุคลากร ทุกระดับ รูปแบบและปรัชญาการ ทำงานของฝ่ายบริหาร มีความรู้ความสามารถ และทักษะที่จำเป็น ต้องใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ความสามารถและ ทักษะของบุคลากร โครงสร้างการจัดองค์กร ยอมรับและปฏิบัติตาม นโยบาย แนวทาง- ปฏิบัติงาน ข้อกำหนด ด้านจริยธรรม นโยบายและการบริหาร ทรัพยากรบุคคล การมอบหมายอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ
2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง : โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งาน ไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ กำหนด การประเมินความเสี่ยง : กระบวนการที่ใช้ในการระบุและวิเคราะห์ ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน รวมทั้งการกำหนดแนวทางที่จำเป็นต้องใช้ใน การควบคุมความเสี่ยงหรือการบริหารความเสี่ยง
2. การประเมินความเสี่ยง (ต่อ) ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ศึกษาทำความเข้าใจวัตถุประสงค์องค์กร การระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง
3. กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายและวิธีการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้ บุคลากรปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง และ ได้รับการสนองตอบโดยมีการปฏิบัติตาม ☺ควรแฝง/แทรกอยู่ในกระบวนทำงานปกติ ☺สามารถลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับยอมรับได้ ☺ต้นทุนคุ้มกับผลประโยชน์ ☺เพียงพอเหมาะสม ไม่มากเกินความจำเป็น ☺มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะ
4. สารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ขององค์กร ทั้งที่ได้รับจากแหล่งภายใน หรือ ภายนอกองค์กร การสื่อสาร หมายถึง การรับ-ส่ง สารสนเทศในการบริหาร และการปฏิบัติงานระหว่างบุคคลที่รับผิดชอบใน งานที่สัมพันธ์กัน
5. การติดตามประเมินผล หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและการประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่วางไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ซึ่งประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย คือ ☺การติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน ☺การประเมินผลเป็นรายครั้ง - การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment) - การประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ (Independent Assessment)
การวางระบบการควบคุมภายในการวางระบบการควบคุมภายใน ☺กำหนดทีมรับผิดชอบ ☺ทบทวนภารกิจ หน้าที่ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์กร ☺พิจารณากิจกรรม งาน/โครงการสำคัญที่อาจมีปัญหา ☺ประเมินความเสี่ยง เพื่อปรับปรุงการควบคุม
ประเด็นการประเมินการควบคุมภายในประเด็นการประเมินการควบคุมภายใน • การควบคุมภายในที่กำหนดไว้เพียงพอ เหมาะสมและ มีการปฏิบัติจริง • ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบ และสอบทานอื่นๆ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสมและทันเวลา • การควบคุมภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
การติดตามประเมินผลการควบคุมภายในและการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6
ขั้นตอนการติดตามประเมินผลขั้นตอนการติดตามประเมินผล ขั้นตอนที่ 1 ติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในงวดก่อน แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.3) ของงวดก่อน รายงานผลการติดตาม การปฏิบัติตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน (ติดตามปย.3)
แบบติดตาม ปย. 3 กลุ่มงาน .................... โรงเรียน ....................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน – ระดับส่วนงานย่อย สำหรับงวดตั้งแต่วันที่ ...... เดือน .......... พ.ศ. ....... ถึง วันที่ ..... เดือน ....... พ.ศ. ...... ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................. วัน.....เดือน.................พ.ศ..........
ความเสี่ยงและสาเหตุที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จความเสี่ยงและสาเหตุที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จ ของวัตถุประสงค์ของการควบคุม ด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน • (1) ด้านการดำเนินงาน (Operation) = O • ด้านความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลรายงาน • (Financial Reporting ) = F • ด้านการปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ (Compliance) = C
หมายถึง การดำเนินการเสร็จตามกำหนด หมายถึง ดำเนินการแล้วไม่เสร็จตามกำหนด หมายถึง อยู่ระหว่างดำเนินการ X หมายถึง ยังไม่ได้ดำเนินการ การรายงานสถานะภาพการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2-1) สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2)
การมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบได้ระบุไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนการมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบได้ระบุไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ตัวอย่าง รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2549 ปย .2 -1 จุดที่ประเมิน มี/ใช่ ไม่มี/ไม่ใช่ ความเห็น/คำอธิบาย สภาพแวดล้อมการควบคุม 1. การมอบอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ 1.1 หน่วยงานควรมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามความเหมาะสม และจำเป็นให้กับบุคลากรที่เหมาะสม เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร โดยพิจารณาจาก / โรงเรียนได้มีคำสั่งมอบหมายอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับ ครูเป็นรายบุคคล / • มีการสื่อสารเกี่ยวกับการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ทราบทั่วกัน ได้แจ้งเวียนคำสั่งมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้บุคลากรทุกคนทราบ และถือปฏิบัติ / ผู้บริหารมีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานที่เกิดจากการพิจารณาสั่งการทั้งในด้านบวกและด้านลบ • ผู้มีอำนาจในการตัดสินในมีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงาน (accountability) ฝ่ายบริหารมิได้มีการติดตามผลการปฏิบัติงานเนื่องจากมีภารกิจมากและเห็นว่ามีระเบียบข้อกำหนดเป็นแนวทางในการปฏิบัติอยู่แล้วควรให้มีวิธีการติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นเพื่อช่วยให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด • ผู้บริหารมีวิธีการติดตามผลการปฏิบัติงานที่มอบหมายอย่างมีประสิทธิผล X
การใส่เครื่องหมาย ตามกรณีต่าง ๆ กรณีมีการปฏิบัติตามที่ระบุในคอลัมน์ (1) ให้ใส่เครื่องหมาย “” ในช่อง “มี / ใช่” ของคอลัมน์ (2) กรณีมีการปฏิบัติตามที่ระบุในคอลัมน์ (1) แต่ควรปรับปรุงเพิ่มเติมให้ใส่เครื่องหมาย “0”ในช่อง“มี / ใช่” ของคอลัมน์ (2) กรณีไม่มีการปฏิบัติตามที่ระบุในคอลัมน์ (1) ให้ใส่เครื่องหมาย “X” ในช่อง “ไม่มี / ไม่ใช่” กรณีไม่มีเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติตามที่ระบุในคอลัมน์ (1) ให้ใส่เครื่องหมาย N / A ***อนึ่งห้ามตัดรายละเอียดที่ระบุในคอลัมน์ (1) ถ้าเป็นกรณีต้องใส่เครื่องหมาย “0”และเครื่องหมาย “X” ในคอลัมน์ (2)
แบบ ปย. 2 กลุ่มงาน ............. โรงเรียน ..............สพท.สร.เขต1 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ณ ถึง วันที่ 30. เดือนกันยายน. พ.ศ. 2548 สรุปผลการประเมิน : -...................................…….....………................................. ชื่อผู้รายงาน...................................... ตำแหน่ง............................................ วันที่….…/…..……/.…..
ขั้นตอนที่ 3 ประเมินการควบคุมภายในตามกิจกรรมแต่ละด้านหรือกิจกรรมเฉพาะของหน่วยงาน แบบสอบถามการควบคุมภายใน การรายการ SAR ,รายงาน สมศ. รายงาน ตสน. สรุปจุดอ่อนจากการประเมิน
แบบปม. กลุ่ม...............โรงเรียน.........................สพท.สร. เขต 1 แบบประเมินการควบคุมภายใน สำหรับงวดปีสิ้นสุด 30 กันยายน พ.ศ. 2548
แบบปม. • (1) ด้านการดำเนินงาน (Operation) = O • ด้านความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลรายงาน • (Financial Reporting ) = F • (3) ด้านการปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับฯลฯ (Compliance) = C ระดับความเสี่ยงโดยพิจารณาโอกาสและผลกระทบแบ่งได้เป็น 4 ระดับ สูงมากสูง ปานกลาง ต่ำ
มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง มีความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงต่ำ การวิเคราะห์ผลกระทบของความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 4 3 2 1 ผลกระทบของความเสี่ยง 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน 2549 แบบ ปย. 3 วัตถุประสงค์ ของการควบคุม จุดอ่อนของการควบคุมหรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ งวด/เวลา ที่พบจุดอ่อน การปรับปรุง กำหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ (3) ( 6 ) (4) ( 5 ) ( 2 ) ( 1 )
จุดอ่อนที่มีนัยสำคัญการควบคุมภายในจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญการควบคุมภายใน โรงเรียน.................................. วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549 กลุ่มงานบริหารงาน............................
ขั้นตอนที่ 4 พิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของการควบคุมภายใน และจัดทำความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน สรุปผลการประเมิน องค์ประกอบการ ควบคุมฯ (ปย. 2) รายงานผลการติดตามการ ปฎิบัติตามแผนการปรับปรุงฯ (ติดตามปย.3) สรุปจุดอ่อนจาก การประเมิน การประเมินการควบคุมภายใน ( แบบ ปม.) รายงานความเห็นเกี่ยวกับ การควบคุมภายใน (ปย.1) แผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน (ปย.3)
แบบที่ต้องจัดทำมีดังนี้แบบที่ต้องจัดทำมีดังนี้ 1. แบบติดตามปย. 3 2. แบบปย. 2-1,แบบ ปย. 2 3. แบบปม. 4. แบบปย. 3 5. แบบปย. 1
ปัญหา ผู้บริหารให้ความสำคัญน้อย บุคลากรรู้ ไม่เข้าใจ สนใจไม่เพียงพอ เครื่องมือและแบบรายงานมีมาก ยากต่อการปฏิบัติ
ข้อควรคำนึง • คนเราจะทำอะไร ต้องมี ๔ อย่าง • มีธงชัย คือ อุดมการณ์ • มีอาวุธ คือ ความรู้ • มียุทธวิธี คือ ความฉลาด • มีคุณธรรม คือ ความดี ต้นหญ้าน้อย ๆ มันยังให้ออกซิเจนแก่โลก ดอกไม้น้อย ๆ มันยังให้ความเพลิดเพลินตา แก่ผู้พบเห็น เราเองเกิดมาชาติหนึ่ง ควรจะให้อะไรที่มีค่าแก่แผ่นดินบ้าง