160 likes | 333 Views
การติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน. โดย งานตรวจสอบภายใน 21 สิงหาคม 2549. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544. ข้อ 6 มหาวิทยาลัยต้องรายงานต่อ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้กำกับดูแลคณะกรรมการตรวจสอบภาคราชการประจำกระทรวงศึกษาธิการ.
E N D
การติดตามประเมินผลการควบคุมภายในการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน โดย งานตรวจสอบภายใน 21 สิงหาคม 2549
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ข้อ 6 มหาวิทยาลัยต้องรายงานต่อ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้กำกับดูแลคณะกรรมการตรวจสอบภาคราชการประจำกระทรวงศึกษาธิการ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ (ภายในสิ้นเดือนธันวาคมของทุกปี)
หน่วยงานย่อย (สำนัก/คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์) จะต้องจัดส่งรายงานให้ - งานตรวจสอบภายใน - สำนักพัฒนาคุณภาพ ภายในสิ้นเดือนตุลาคม ของทุกปี (ภายใน 30 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ)
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.) การวางแผน 2.) การติดตามและประเมินผล 3.) การจัดทำรายงาน
ขั้นตอนการวางแผน 1. สำรวจกิจกรรมภายในหน่วยงาน 2. กำหนดผู้รับผิดชอบ 2.1 เจ้าหน้าที่อาวุโส 2.2 ผู้รับผิดชอบในการประมวลผลในภาพรวมของหน่วยงาน 2.3 ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม 3. กำหนดระยะเวลาในการประเมิน สรุปผล และรายงาน
ขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน 1. ติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงงวดก่อน 1.1 นำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน งวดก่อนมาติดตาม 1.2 ทำการติดตามจากชื่อผู้รับผิดชอบในแผนแต่ละเรื่อง 1.3 ผลของการติดตาม 1.3.1 เสร็จทันตามกำหนด 1.3.2 เสร็จแต่ล่าช้ากว่ากำหนด 1.3.3 อยู่ระหว่างการดำเนินการ 1.3.4 ยังไม่ได้ดำเนินการ หมายเหตุ : ไม่ว่าสถานะของผลการติดตามจะเป็นสถานะใดก็ตาม ให้หน่วยงานระบุวิธีการติดตามและการประเมินผลไว้ด้วย
ขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน 2. ทำการประเมินองค์ประกอบตามมาตรฐานการควบคุมภายในทั้ง 5 ด้าน โดย2.1 ประชุมระดมสมองรวมกันทุกกิจกรม 2.2 ประชุมระดมสมองแยกแต่ละกิจกรรม (ในกรณีนี้ต้องนำมา ประมวลเป็นภายรวมของหน่วยงานด้วย) 2.3 สรุปผลในแต่ละองค์ประกอบ 2.4 สรุปผลขององค์ประกอบทั้งหมดในภาพรวมของหน่วยงาน
ขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน 3. การทำการประเมินผลการควบคุมภายในโดยแยกประเมินแต่ละ กิจกรรม ดังนี้3.1 ทำการสำรวจว่าแต่ละกิจกรรมมีงานในความรับผิดชอบอะไรบ้าง 3.2 แต่ละงานมีขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างไร 3.3 เตรียมเครื่องมือในการประเมิน เช่น - แบบสอบถาม - ประชุมระดมสมอง 3.4 ทบทวนขั้นตอนการทำงานของตนเอง คิดความเสี่ยง อะไรที่ทำให้เกิดความเสี่ยง ดูว่าการควบคุมที่มีอยู่มีอะไรบ้าง และเพียงพอที่จะลดความเสี่ยง ถ้าไม่พอต้องคิดหาวิธีการควบคุมเพิ่ม
หลักของกิจกรรมการควบคุมหลักของกิจกรรมการควบคุม 1. ต้องกำหนดผู้รับผิดชอบ 2. ผู้รับผิดชอบสามารถปฏิบัติได้ 3. มีการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ 4. ผลลัพธ์คุ้มค่ากับค่าใช้จ่าย
การวิเคราะห์ระดับของความเสี่ยงการวิเคราะห์ระดับของความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 4 3 2 1 มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง ผลกระทบของความเสี่ยง มีความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงต่ำ 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ขั้นตอนการจัดทำรายงานขั้นตอนการจัดทำรายงาน รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (แบบติดตาม ปย.3) - นำข้อมูลสถานะการดำเนินงานที่ได้ จากการติดตามผลการปฏิบัติตาม แผนปีก่อน มาจัดทำ สรุปผลการประเมินองค์ประกอบตามาตรฐานการควบคุมภายใน(แบบ ปย.2) - นำผลสรุปจากการประชุมระดมสมองที่ ประมวลในภาพรวมของหน่วยงานมา รายงาน
ขั้นตอนการจัดทำรายงานขั้นตอนการจัดทำรายงาน แผนการปรับปรุงการควบคุม(แบบ ปย.3) - นำงานที่ประเมินผลการควบคุมแล้ว และจะต้องกำหนดวิธีการควบคุมมาจัด ทำแผนโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและ ระยะเวลาแล้วเสร็จ หนังสือรับรองการควบคุมภายในของหน่วยงาน(แบบ ปย.1) - แบบประเมินนี้ใช้เป็นกระดาษทำการ เพื่อจัดส่งให้ผู้ตรวจสอบภายใน แบบประเมินการควบคุมภายใน(แบบ ปม.)
สรุปขั้นตอนการติดตามประเมินการควบคุมภายในงวดต่อไปสรุปขั้นตอนการติดตามประเมินการควบคุมภายในงวดต่อไป - แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในระดับส่วน งานย่อย (สำนัก/คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์) ปี 2547 ซึ่งหน่วยงานได้มีการจัดทำแล้ว แบบ ปย.3 1. หน่วยงานจัดทำรายงานผลการติดตาม การปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุม ภายในปี 2547 ที่ผ่านมาจนถึง 30 กันยายน 2548 (แผนการปรับปรุง ปย.3) แบบติดตาม ปย.3 (1)
สรุปขั้นตอนการประเมินระบบการควบคุมภายในงวดต่อไปสรุปขั้นตอนการประเมินระบบการควบคุมภายในงวดต่อไป 2. จัดทำรายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของมาตรฐานการควบคุมภายในงวดสิ้นสุด 30 กันยายน 2547 (ประเมินองค์ประกอบ การควบคุมภายในของหน่วยงานว่ามี/ไม่มี พร้อมคำอธิบายเพิ่มเติม) แบบ ปย.2-1 (2) 3. สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความ เสี่ยงกิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการ สื่อสารและการติดตามประเมินผล แบบ ปย.2 (3)
สรุปขั้นตอนการประเมินระบบการควบคุมภายในงวดต่อไปสรุปขั้นตอนการประเมินระบบการควบคุมภายในงวดต่อไป 4. แบบประเมินการควบคุมภายใน (ประเมิน ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่และสาเหตุ การปรับปรุง การควบคุม) แบบ ปม. (4) 5. แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ หน่วยงานในงวดปีต่อไป ณ วันที่ 1 ต.ค. 47 ถึง 30 ก.ย. 48 แบบ ปย.3 (5) 6. หนังสือรับรองการควบคุมภายในของผู้ บริหารระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย.1 (6)
ขอบคุณ งานตรวจสอบภายใน