1 / 35

ผู้วิจัย ปราโมทย์ สิทธิจักร และคณะ

การพัฒนาต้นแบบ ออนโทโล ยีเพื่อจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องดนตรีมังคละ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง The Development Ontology Prototype for Wisdom Management of Mungkala Music in The Lower Northern Area. ผู้วิจัย ปราโมทย์ สิทธิจักร และคณะ. เนื้อหา. ความสำคัญและที่มาของปัญหา

derick
Download Presentation

ผู้วิจัย ปราโมทย์ สิทธิจักร และคณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาต้นแบบออนโทโลยีเพื่อจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องดนตรีมังคละ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างThe Development Ontology Prototype for Wisdom Management of Mungkala Music in The Lower Northern Area ผู้วิจัย ปราโมทย์ สิทธิจักร และคณะ

  2. เนื้อหา • ความสำคัญและที่มาของปัญหา • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • ขอบเขตของการวิจัย • ผลการวิจัย • ประโยชน์ที่ได้รับ และการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ • ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป • บรรณานุกรม

  3. ความสำคัญของดนตรีมังคละความสำคัญของดนตรีมังคละ • จากหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ชี้ให้เห็นว่าดนตรีมังคละมีความสำคัญและมีบทบาทต่อวิถีชีวิตของคนในอดีตเป็นอย่างยิ่ง และนับเป็นการการละเล่นที่นำมาใช้สร้างความสนุกสนาน รื่นเริง และทำให้เกิดความสามัคคีกันของผู้ที่มาร่วมในงานบุญทอดกฐินซึ่งถือเป็นประเพณีทางพุทธศาสนาที่ยึดถือปฏิบัติกันมายาวนานแต่เดิมมังคละเป็นดนตรีพื้นบ้านที่เริ่มเล่นกันในท้องถิ่นของจังหวัดสุโขทัยและพิษณุโลกมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาลนับตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี

  4. ความสำคัญของดนตรีมังคละ(ต่อ)ความสำคัญของดนตรีมังคละ(ต่อ) • มาในปัจจุบันการละเล่นดนตรีมังคละได้แผ่ขยายบทบาทมายังพื้นที่ใกล้เคียงของจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง เช่น อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ และตำบลสะเดียง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ (สมชาย เดือนเพ็ญ, ม.ป.ป.) เนื่องจากดนตรีมังคละมีรูปแบบท่วงทำนองเฉพาะตัว คือ มีจังหวะจะโคนที่ครึกครื้น ประกอบไปด้วยสุ้มเสียงลีลาที่รุกเร้าสร้างบรรยากาศให้เกิดความคึกคักสนุกสนานแฝงไปด้วยความเป็นระเบียบแบบแผนของเครื่องดนตรีต่างๆ ที่เล่นประสานกันอย่างลงตัว

  5. ที่มาของปัญหา • สภาพวิถีชีวิตของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง รวมถึงกระแสวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลเหนือความคิดและค่านิยมของคนในสังคม ส่งผลให้การละเล่นดนตรีมังคละเกือบจะยุติบทบาทและสูญหายไปจากความทรงจำของคนในท้องถิ่นรวมถึงคนไทยทั้งประเทศอย่างสิ้นเชิง • องค์ความรู้เรื่องดนตรีพื้นบ้านมังคละที่มีการจัดเก็บทั้งในลักษณะของการจดบันทึกลงในเอกสารหรือตำรา (Explicit Knowledge) รวมถึงความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ (Tacit Knowledge) มีการรวบรวมอยู่อย่างกระจัดกระจายแยกกันอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ ของจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ทำให้ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความรู้แบบเชื่อมโยง ส่งผลให้องค์ความรู้นำเสนอได้เฉพาะในมุมมองของชุมชนท้องถิ่นเท่านั้น

  6. แนวทางการแก้ไขปัญหา • ออนโทโลยี (Ontology) เป็นการนิยามหรือกำหนดรูปแบบโครงสร้างของสิ่งที่เราสนใจให้มีความหมายตามขอบเขตขององค์ความรู้ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในมาตรฐานของการออกแบบจำลองโครงสร้างในรูปแบบลำดับชั้น (Tree) ในลักษณะของ ภาษาXML • หลักการออนโทโลยีจะช่วยจัดระเบียบองค์ความรู้เรื่องดนตรีพื้นบ้านมังคละที่มีการจัดเก็บทั้งในลักษณะของการจดบันทึกลงในเอกสารหรือตำรา (Explicit Knowledge) รวมถึงความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ (Tacit Knowledge) ที่มีอยู่อย่างกระจัดกระจายแยกกันอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ ของจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างให้มีความเป็นระบบ ส่งผลให้การเข้าถึงและค้นคืนองค์ความรู้ภูมิปัญญาบนเว็บเชิงความหมายมีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้ผลลัพธ์จากการค้นหาข้อมูลความรู้ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น

  7. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นเรื่องดนตรีมังคละในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง 2) เพื่อพัฒนาฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องดนตรีมังคละในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างในรูปแบบออนโทโลยี 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจผู้ใช้ที่มีต่อโครงสร้างและรูปแบบฐานความรู้ออนโทโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องดนตรีมังคละที่ได้พัฒนาขึ้น

  8. ขอบเขตของการวิจัย ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ภูมิปัญญาเรื่องดนตรีมังคละจากผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน และครูผู้ควบคุมวงดนตรีมังคละที่มีประสบการณ์ไม่ต่ำกว่า 10 ปี จำนวน 5 คน ที่อยู่ในชุมชนและโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และสุโขทัย เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาในลักษณะการสร้างเครือข่ายแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling) โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก

  9. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) นำสาระความรู้ที่รวบรวมได้มาสรุป เพื่อสร้างเป็นแบบสอบถามยืนยันความจำเป็นในรายการองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีมังคละจากผู้ใช้ที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน ครูผู้ควบคุมวงดนตรีมังคละ รวมถึงนักเรียนในโรงเรียนที่มีการจัดสอนรายวิชาท้องถิ่น โดยทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 52 คน แล้วนำมาแปรผลด้วยค่าร้อยละ

  10. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) • พัฒนาระบบจัดการฐานความรู้ โดยใช้ภาษา PHP และไลบารี่ RAP Api for PHP ในการจัดการฐานความรู้ออนโทโลยีที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรม Hozo • สร้างการเชื่อมโยงจากโครงสร้างฐานความรู้ไปยังแหล่งข้อมูลความรู้ที่จัดเก็บในฐานข้อมูล MySQL ผ่านการให้บริการของโปรแกรม Apache Web Server ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

  11. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) ทำการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้ที่มีต่อระบบจัดการฐานความรู้ออนโทโลยีโดยทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 40 คน โดยแบ่งเป็น 1) กลุ่มผู้ใช้ทั่วไป ซึ่งเป็นนักเรียนที่เรียนในรายวิชาท้องถิ่นดนตรีพื้นบ้าน จำนวน 36 คน 2) กลุ่มผู้จัดการข้อมูลที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน และครูผู้สอนในรายวิชาท้องถิ่น จำนวน 4 คน

  12. ผลการวิจัย ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการละเล่นดนตรีมังคละ โดยใช้เทคนิคการรวบรวมข้อมูลแบบสร้างเครือข่าย (Snow Ball) กับปราชญ์ใน พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ โรงเรียนวัดจอมทอง 2 คน, ตำบลวัดโบสถ์ 1 คน และปราชญ์อำเภอกงไกรลาส จังหวัดสุโขทัย 2 คน 2.ด้านเอกลักษณ์เฉพาะตนในการละเล่น เช่น เพลง ท่ารำ จังหวะ เครื่องดนตรี 3.ด้านรูปแบบหรือวิธีการดำเนินพิธีกรรมการไหว้ครู 1.ด้านประวัติความเป็นมาหรือภูมิหลัง 4.ด้านคติ ความเชื่อ หรือข้อห้ามต่างๆ 5 .ด้านรูปแบบการสร้างเครือข่ายระหว่างวงดนตรี

  13. ผลการวิจัย (ต่อ) นางโกรก วงดนตรีร.ร. วัดจอมทองคิดค้นขึ้นมา ให้มีการฟ้อนรำไปด้วยในระหว่างถือกลอง (ปกติจะอยู่นิ่งๆ)

  14. ผลการวิจัย (ต่อ) คิดค้นจังหวะใหม่ โดยผู้เล่นจะโยกตัว และขยับเท้า ซ้าย ชิด ขวา ชิด พร้อมเพรียงกัน (ปกติอยู่นิ่งๆ หรือต่างคนต่างเต้นท่าใครท่ามัน)

  15. ผลการวิจัย (ต่อ) คิดค้นจังหวะใหม่ โดยผู้เล่นจะโยกตัว และขยับเท้า ซ้าย ชิด ขวา ชิด พร้อมเพรียงกัน (ปกติอยู่นิ่งๆ หรือต่างคนต่างเต้นท่าใครท่ามัน)

  16. ผลการวิจัย (ต่อ) ผลการยืนยันความจำเป็นของรายการองค์ความรู้ต่างๆ จากกลุ่มตัวอย่าง ที่เป็นผู้ใช้งานระบบ ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ครูผู้คุมวงดนตรี นักเรียนในรายวิชาท้องถิ่น รวมถึงนักดนตรีประจำวงมังคละ ซึ่งผลสรุปรายการองค์ความรู้ในทุกข้อถามอยู่ในระดับมากและมากที่สุด ** ยกเว้นข้อถามเกี่ยวกับองค์ความรู้การประสมวงดนตรีมังคละกับวง **

  17. ผลการวิจัย (ต่อ) การออกแบบและพัฒนาฐานความรู้ออนโทโลยีด้วยโปรแกรม Hozo เพื่อสร้างความสัมพันธ์ของโหนดข้อมูล จากรายการองค์ความรู้ 17 รายการ ที่อยู่ในระดับมากและมากที่สุด ได้จำนวนทั้งสิ้น 51 โหนด ดังภาพ

  18. ผลการวิจัย (ต่อ) การสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ด้วยโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล MySQL ที่สอดคล้องกับโครงสร้างของโหนดบนออนโทโลยี ดังภาพ

  19. ผลการวิจัย (ต่อ) Use Case Diagram ภาพรวมของต้นแบบระบบจัดการฐานความรู้ออนโทโลยีดนตรีมังคละ

  20. ผลการวิจัย (ต่อ) ClassDiagram ภาพรวมของต้นแบบระบบจัดการฐานความรู้ ออนโทโลยีดนตรีมังคละ

  21. ผลการวิจัย (ต่อ) Sequence Diagram ภาพรวมของต้นแบบระบบจัดการฐาน ความรู้ออนโทโลยีดนตรีมังคละ

  22. ผลการวิจัย (ต่อ) หน้าจอการนำเข้าโครงสร้างออนโทโลยี RDF ในรูปแบบไฟล์ OWL

  23. ผลการวิจัย (ต่อ) หน้าจอกำหนดชื่อโหนด และแอตทริบิวต์บนออนโทโลยีให้เป็นภาษาไทย

  24. ผลการวิจัย (ต่อ) หน้าจอแสดงชื่อโหนด และแอตทริบิวต์บนออนโทโลยีที่เปลี่ยนเป็น ภาษาไทยเรียบร้อยแล้ว

  25. ผลการวิจัย (ต่อ) แม่แบบจัดการองค์ความรู้ดนตรีมังคละ 51 แม่แบบ แสดงเฉพาะส่วนของโหนดเครื่องดนตรี

  26. ผลการวิจัย (ต่อ) แม่แบบจัดการองค์ความรู้ดนตรีมังคละ 51 แม่แบบ แสดงเฉพาะส่วนของโหนดเครื่องดนตรี

  27. ผลการวิจัย (ต่อ) • ผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบจัดการฐานความรู้ จำนวน 40 คน • ซึ่งผลการวิจัย พบว่าประสิทธิภาพของโครงสร้างและรูปแบบฐานความรู้ออนโทโลยี • เรื่องดนตรีมังคละ ในภาพรวม มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 62.0 • เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี • สามารถเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ • ด้าน Usability Test คิดเป็นร้อยละ 68.9 • ด้าน Performance Test คิดเป็นร้อยละ 66.4 • 3) ด้าน Function Test คิดเป็นร้อยละ 63.5 • ด้าน Security Test คิดเป็นร้อยละ 58.0 • ด้าน Function Requirement Test คิดเป็นร้อยละ 53.2 • ตามลำดับ • 3) ด้าน Function Test คิดเป็นร้อยละ 63.5 4) ด้าน Security Test คิดเป็นร้อยละ 58.0 และ 5) ด้าน Function Requirement Test คิดเป็นร้อยละ 53.2 ตามลำดับ

  28. ผลการวิจัย (ต่อ) • ผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบจัดการฐานความรู้ จำนวน 40 คน • ซึ่งผลการวิจัย พบว่าประสิทธิภาพของโครงสร้างและรูปแบบฐานความรู้ออนโทโลยี • เรื่องดนตรีมังคละ ในภาพรวม มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 62.0 • เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี • สามารถเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ • ด้าน Usability Test คิดเป็นร้อยละ 68.9 • ด้าน Performance Test คิดเป็นร้อยละ 66.4 • 3) ด้าน Function Test คิดเป็นร้อยละ 63.5 • ด้าน Security Test คิดเป็นร้อยละ 58.0 • ด้าน Function Requirement Test คิดเป็นร้อยละ 53.2 • ตามลำดับ • 3) ด้าน Function Test คิดเป็นร้อยละ 63.5 4) ด้าน Security Test คิดเป็นร้อยละ 58.0 และ 5) ด้าน Function Requirement Test คิดเป็นร้อยละ 53.2 ตามลำดับ

  29. ประโยชน์ที่ได้รับ และการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ • ได้ข้อมูลองค์ความรู้ภูมิปัญญาเรื่องดนตรีมังคละในเขตพื้นที่ภาคเหนือ • ตอนล่าง และสามารถทราบถึงข้อมูลสายเครือข่ายแหล่งภูมิปัญญามาใช้เป็น • แนวทางในการจัดตั้งกลุ่มปราชญ์ด้านดนตรีพื้นบ้านในพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อร่วมกัน • พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและประเทศชาติ 2. ได้ต้นแบบออนโทโลยีเพื่อนำเสนอฐานความรู้ภูมิปัญญาเรื่องดนตรีมังคละในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งต้นแบบระบบที่สร้างขึ้นนี้จะสามารถใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนาออนโทโลยีเพื่อนำไปใช้กับเว็บจัดการความรู้ภูมิปัญญาในลักษณะอื่นๆ ได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดเป็นศูนย์กลางการรวบรวม แลกเปลี่ยน และเผยแพร่ความรู้ทางภูมิปัญญา

  30. ประโยชน์ที่ได้รับ และการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (ต่อ) 3) เพื่อเสนอแนะรูปแบบและวิธีการจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับการละเล่นดนตรีพื้นบ้านให้หน่วยงานทุกภาคส่วนในชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมและมีบทบาทรับผิดชอบในทุกขั้นตอนตามแนวคิดการจัดการความรู้

  31. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรพัฒนาส่วนนำเข้าออนโทโลยี ให้สามารถรองรับออนโทโลยีที่ตั้งชื่อโหนด และแอตทริบิวต์เป็นภาษาไทย เพื่อให้เกิดการลดขั้นตอนในส่วนการปรับปรุงโครงสร้างออนโทโลยี ในโมดูลที่ 2 ออกไป ซึ่งจะทำให้ระบบมีความง่าย รวมทั้งลดขั้นตอนการจัดเตรียมออนโทโลยีเพื่อการสร้างแม่แบบองค์ความรู้ลงไปอีก 1 ขั้นตอน

  32. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2. ควรพัฒนาฟังก์ชั่นเพื่อรองรับการเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโหนด และ แอตทริบิวต์ บนโมเดลออนโทโลยีตามโครงสร้างของ RDFs ได้โดยตรง ฟังก์ชั่น Add node

  33. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 3. ควรพัฒนาต่อยอดให้เป็นระบบจัดการฐานความรู้ดนตรีพื้นบ้านมังคละเต็มรูปแบบ เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงและสืบค้นข้อมูลเชิงความหมายในรูปแบบ Semantic Web ซึ่งอาจจะใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปยี่ห้อต่างๆ เช่น Onto Wiki, Semantic Media Wiki เป็นต้น

  34. บรรณานุกรม กลุ่มงานภูมิปัญญาท้องถิ่น สำนักพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริม. (2547). ภูมิปัญญาไทย. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2552, จาก http://tkagri.doae.go.th/indexhome.php กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และกิตติพงษ์ กลมกล่อม. (2548). คัมภีร์การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุด้วย UML. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์แอนด์ คอนซัลท์. วีระเดช เชื้อนาม. (เอกสารสรุปองค์ความรู้). (17 มกราคม 2548). การบริหารจัดการความรู้. ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. (2538). ทฤษฎีและเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สมจิตร อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์. (2541). ระบบฐานข้อมูล: Database Systems. ขอนแก่น: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยขอนแก่น. สมชาย เดือนเพ็ญ. (ม.ป.ป.). อัจฉริยลักษณ์เมืองบางขลัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2554. จาก http://www.bangkhung.go.th/book%20teenee%202/72-103.pdf. สมศักดิ์ โชคชัยชุติกุล. (2547). อินไซด์ PHP 5. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น จำกัด. Beane , James A , Toepler ,Jr. Conrad F. and Alessi , Jr. Samuel J. (1986). Curriculum Planning andDevelopment. Massachusette : Allyn andBacon.

  35. ขอบคุณครับ.... Q&A

More Related