300 likes | 438 Views
เรื่องต้องรู้ : ปัจจัยอิทธิพลและแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศไทย ปี 2549. โดย นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 16 ธันวาคม 2548. Outline. การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ 9 เดือนแรกปี 2548 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทย แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2549
E N D
เรื่องต้องรู้ : ปัจจัยอิทธิพลและแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศไทย ปี 2549 โดย นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 16 ธันวาคม 2548
Outline • การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ 9 เดือนแรกปี 2548 • เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทย • แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2549 • แนวโน้มอุตสาหกรรมปี 2548-2549 • ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในปี 2549 • ข้อเสนอแนะ • ข้อเสนอแนะของภาคเอกชน
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ 9 เดือนแรกปี 2548 2548 % 2547 Q3 9M(9M47) Q1 Q2 GDP 5.3 6.1 3.2 4.6 4.4(6.5) 4.5 4.6(6.2) 5.9 4.4 4.7 การใช้จ่ายในครัวเรือน 4.7 15.0 13.6(4.9) 16.1 9.6 การใช้จ่ายภาครัฐบาล 12.3 11.5 11.8(17.1) 16.3 11.7 การลงทุนภาคเอกชน 6.8 0.2 27.4 21.1 13.6(2.2) การลงทุนภาครัฐ 1.5 11.5 -0.4 4.4(8.9) การส่งออกสินค้า 8.4 3.7 2.7 2.8 5.7 4.1(2.6) อัตราเงินเฟ้อ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ 9 เดือนแรกปี 2548 (ต่อ) สาเหตุ 1.การส่งออกของไทยปี 48 ชะลอตัวจากเศรษฐกิจ โลกรวมทั้งการพึ่งการนำเข้า 2.ราคาน้ำมันในตลาดโลกที่สูงขึ้น 3.ภัยธรรมชาติ 4.อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 5.ความสามารถในการแข่งขันทรงตัวขณะที่ มีการแข่งขันที่รุนแรง 6.สถานการณ์ทางการเมือง 4.4 ปี 9M/2548 การขยายตัวของเศรษฐกิจในปี 48 เกิดจาก ความต้องการภายในประเทศจากการกระตุ้น เศรษฐกิจมากกว่าการขยายตัวของการส่งออก
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ปัญหาเงินเฟ้อ (Inflation) • ปัญหาการว่างงานโดยส่วนรวม(Unemployment) • ปัญหาภาวะการผลิตและรายได้ของประชาชน (Production and Income) • ปัญหาการขาดดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยน (Balance of Payment and Exchange Rates) • ปัญหาดุลงบประมาณ (Government Budget)
การจ้างงานภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นการจ้างงานภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น 2005 % 2004 (10m) Q3 Q1 Q2 10 M Labor force(1000 persons) 35,539.67 35,257.79 35,775.96 36,626.34 35,880.67 96.98 96.49 Labor force participation rate(%) 96.82 97.35 98.51 Agriculture 11,364.37 1,207.96 14,876.04 12,796.64 12,984.43 5,803.33 5,633.00 5,879.56 6,201.13 5,932.13 Manufacturing 1,850.35 2,401.91 2,182.49 2,129.09 2,366.37 Construction 13,548.12 14,348.56 13,720.68 14,019.50 14,087.76 Services & others Unemployment rate (%) 2.55 1.36 1.97 2.21 2.06
อัตราเงินเฟ้อของประเทศไทยกับ Emerging Asia
ดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศไทศดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศไทศ
หนี้สาธารณะต่อ GDP ตัวชี้วัด 2546 2547 Q1-48 Q2-48 Q3-48 10-months Debt/GDP(%) 40.3 47.5 43.5 44.6 45.9 - Reserve assets(Bil M.US) 42.1 49.8 49.1 48.6 49.2 49.1 Reserve/short-term debt (เท่า)3.95 4.1 3.4 3.0 2.9 - ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อGDP 5.5 4.1 -3.4 -11.1 2.6 -3.8(jan.-sep.)
คาดการณ์เศรษฐกิจปี 2548-2549 4.0-5.7 - การกระตุ้นการลงทุน - การท่องเที่ยว - การใช้จ่ายครัวเรือน - แรงกดดันเงินเฟ้อลดลง 3.5-4.7 ปี 2548 ปี 2549 - เศรษฐกิจปี 49 ขยายตัว 4.0-5.7 % - อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ 2.7-4.6 % - เศรษฐกิจปี 48 ขยายตัว 3.5-4.7 % - อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ 3.8-4.5 % - การส่งออกสินค้า อุตฯ ขยายตัว 19.5 %
แนวโน้มอุตสาหกรรมปี 2548-2549 9-10 - การกระตุ้นการลงทุน - การท่องเที่ยว - การใช้จ่ายครัวเรือน - แรงกดดันเงินเฟ้อลดลง - ราคาน้ำมันที่เพิ่มขึ้น - อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น - เศรษฐกิจโลกชะลอตัว - ไข้หวัดนกและภัยธรรมชาติ 6-7 ปี 2549 ปี 2548 - อุตสาหกรรมขยายตัว 9-10 % - การส่งออกสินค้าอุต ฯ ขยายตัว 21-22 % - อุตสาหกรรมขยายตัว 6-7 % - การใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ 70% - การส่งออกสินค้า อุตฯ ขยายตัว 19.5 %
แนวโน้มของสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ • อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า มีแนวโน้มขยายตัวเล็กน้อย - การผลิตเหล็กทรงยาวชะลอตัว - เหล็กทรงแบนขยายตัว • อุตสาหกรรมยานยนต์ - การผลิตรถปิกอัพและรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ขยายตัว - การผลิตรถยนต์นั่งหดตัว - การผลิตรถจักรยานยนต์ขยายตัวตามการส่งออก
แนวโน้มของสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ (ต่อ) • อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ชะลอตัวตามความต้องการจากภายในประเทศและภายนอกประเทศที่ชะลอตัว • อุตสาหกรรมเคมีขยายตัว ตามความต้องการบริโภคในประเทศและการส่งออกปุ๋ยเคมี • อุตสาหกรรมปิโตรเคมี - การผลิตขั้นต้นน้ำยังคงขยายตัวตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น - การผลิตกลางและปลายน้ำเริ่มชะลอตัว
แนวโน้มของสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ (ต่อ) • อุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ ยังมีการขยายตัวต่อเนื่องตามความต้องการกระดาษมาใช้แทนพลาสติกเพื่อรักษาสภาพแวดล้อม • อุตสาหกรรมอาหาร ยังคงขยายตัวตามความต้องการในตลาดโลก รวมทั้งการได้รับการคืน GSP จากสหภาพยุโรป แม้ว่าการผลิตบางส่วนยังประสบกับปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในปี 2549 เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มชะลอตัว 3.8 3.2 3.2 ปี 2549 ปี 2547 ปี 2548 การค้าโลกขยายตัว 6.2 % 7.0 %
ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น • ค่าเงินดอลลาร์ที่อ่อนค่า ทำให้ค่าเงินบาทและค่าเงินสกุลอื่นแข็งค่าขึ้น • ขณะที่ค่าเงินของเวียดนาม เงินเปโซของฟิลิปปินส์ มีการอ่อนค่า
ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่สูงขึ้นมากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่สูงขึ้นมาก
กำลังซื้อภายในประเทศที่เริ่มลดลงกำลังซื้อภายในประเทศที่เริ่มลดลง • ราคาน้ำมันที่เพิ่มขึ้นทำให้กำลังซื้อลดลง • ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นทำให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น • ขณะที่รายได้ของผู้บริโภคคงที่ • ทำให้ลดการบริโภคสินค้าที่ไม่จำเป็นต่อการดำรงชีพ
อัตราดอกเบี้ยภายในประเทศที่ปรับเพิ่มขึ้นอัตราดอกเบี้ยภายในประเทศที่ปรับเพิ่มขึ้น
โรคระบาดและปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้โรคระบาดและปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ • มีรายงานการพบเชื้อไข้หวัดนกในประเทศไทยระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2548-14 ตุลาคม 2548 ในพื้นที่ 7 จังหวัด • มีการระบาดของโรคไข้หวัดนกในประเทศเพื่อนบ้าน • พบการระบาดของโรคไข้หวัดนกในทวีปยุโรป • ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่งผลทางด้าน จิตวิทยาของนักลงทุน และผู้ประกอบการในพื้นที่
อัตราแลกเปลี่ยนที่อาจผันผวนมากขึ้นอัตราแลกเปลี่ยนที่อาจผันผวนมากขึ้น • ความไม่สมดุลของเศรษฐกิจโลกจากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดอย่างต่อเนื่องของสหรัฐ • การปรับค่าเงินหยวนของจีน • ดังนั้น แนวโน้มค่าเงินในระยะต่อไป ส่วนหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับการปรับเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลหลัก
การกีดกันทางการค้า • การกำหนดมาตรฐานของสินค้าจากจีน • มาตรการ การจัดการขยะเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ • การจัดการสารอันตราย • นโยบายป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมครบวงจร • มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด • การตัดสิทธิพิเศษทางการค้า
ข้อเสนอแนะ • การปรับตัวเพื่อรองรับการเปิดเสรี • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย - การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (Total Factor roductivity-TFP) - การเสริมความแข็งแกร่งของประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรม
ข้อเสนอแนะ(ต่อ) • ความสามารถในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี จำเป็นต้องมีแรงงานที่มี ทักษะ • รัฐจะต้องเร่งส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาศักยภาพทางเทคโนโลยีของกิจการ • การเสริมสร้างศักยภาพทางเทคโนโลยีในระดับกิจการ
ข้อเสนอแนะ(ต่อ) • การนำเทคโนลียีมาใช้ในการพัฒนาสินค้า ต้อง ให้ความสำคัญกับทรัพย์สินทางปัญญา • การดำเนินการในเรื่อง • ความร่วมมือในการพัฒนา R&D • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนา brand • รัฐต้องจัดหาข้อมูล นโยบายการลงทุนในต่างประเทศ
ข้อเสนอแนะของภาคเอกชนข้อเสนอแนะของภาคเอกชน • การดูแลราคาน้ำมันให้มีเสถียรภาพรวมทั้งเตรียมความพร้อมเรื่องพลังงานทดแทน • การช่วยจัดหาแหล่งวัตถุดิบให้กับบางอุตสหกรรมที่ขาดแคลน รวมทั้งการลดภาษีนำเข้าวัตถุดิบ • การหาตลาดส่งออกใหม่ ๆ
ข้อเสนอแนะของภาคเอกชน (ต่อ) • การกำหนดมาตรฐานสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ • ปัญหาแรงงานต่างด้าว • เหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้