1 / 18

การวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. จัดทำโดย นางสาว อริษา ตู้ประทุม 533050332-4 ช้น ปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิต ศาสตร ศึกษา. ทำไมถึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. - ด้านเอกสารหลักสูตร

Download Presentation

การวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม 533050332-4 ช้นปีที่3 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา

  2. ทำไมถึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 • -ด้านเอกสารหลักสูตร • กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ • -ผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร หลักสูตร 2544 เกิดความไม่ชัดเจน • การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน • ปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน • คุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสมารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ทำให้เกิด หลักสูตร2551

  3. มีจิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ รักความเป็นไทย มีวินัย อยู่อย่างพอเพียง ใฝ่เรียนรู้

  4. จุดประสงค์ของการวัดและประเมินผลจุดประสงค์ของการวัดและประเมินผล สังเกต ซักถาม ระดมความคิดเห็น การใช้แฟ้มสะสมงาน การใช้ภาระงานที่เน้นการปฏิบัติ การประเมินจากความรู้เดิม ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน และใช้เกณฑ์การให้คะแนน 1.การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน เครื่องมือ/วิธีการ สิ่งสำคัญ คือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ -ประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนหรือจบรายวิชาเพื่อตัดสินคะแนน -รับรองความรู้ ความสามารถของผู้เรียนว่าผ่านหรือไม่ สามารถเลื่อนชั้นหรือจบหลักสูตรหรือไม่ 2.การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เครื่องมือ/วิธีการ

  5. ระดับการวัดและประเมินผลระดับการวัดและประเมินผล การประเมินระดับชั้นเรียน การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา การประเมินระดับชาติ

  6. องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความสัมพันธ์องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความสัมพันธ์ สาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่ม การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน คุณภาพผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน

  7. ภารกิจของผู้สอนด้านการวัดภารกิจของผู้สอนด้านการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ กระบวนทัศน์ใหม่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บรรยากาศในชั้นเรียน : แนวคิดที่ต้องเปลี่ยนแปลง เดิม ใหม่ ห้องเรียนที่ยึดการเปรียบเทียบ ผลการเรียนเป็นหลัก โดยเป้าหมายของการวัดและประเมินผล คือการสอบให้คะแนน ห้องเรียนที่มีการเรียนรู้เป็นหัวใจ โดยเป้าหมายหลักของการวัด และประเมินผล คือ การปรับปรุง คุณภาพการสอนและการเรียนรู้

  8. ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียนความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน การวัด (Measurement) หมายถึง การกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งต่างๆ การประเมิน (Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บข้อมูล ตีความ บันทึกและใช้ข้อมูลจากการทำกิจกรรมของผู้เรียน ว่าผู้เรียน รู้อะไร สามารถทำอะไรได้บ้าง การประเมินค่า/การตัดสิน (Evaluation)หมายถึง การนำเอาข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการวัดหลาย ๆ อย่างมาเป็นข้อมูลในการตัดสินผลการเรียน เพื่อประเมินการเรียนรู้

  9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินตลอดระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอน ผลที่ได้จะเป็นข้อมูลสะท้อนให้ผู้สอนทราบถึงผลการจัดการเรียนการสอนของตน และพัฒนาการของผู้เรียน

  10. ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำแนกตามวิธีการแปลความหมายผลการเรียนรู้ จำแนกตามขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน -การประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง -การประเมินเพื่อวินิจฉัย -การประเมินผลย่อย -การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ -การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม -การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์

  11. วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบบเป็นทางการ แบบไม่เป็นทางการ *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล ผลการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นรายบุคคล *เป็นประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียน สามารถเข้าใจผู้เรียนได้อย่างลึกซึ้ง *เป็นการได้มาซึ่งข้อมูล ผลการเรียนรู้ *เหมาะสำหรับการประเมิน เพื่อตัดสิน

  12. แบบไม่เป็นทางการ วิธีการที่ใช้ในการประเมิน *การสังเกตพฤติกรรม *การสอบปากเปล่า *การพูดคุย *การใช้คำถาม *การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ *การประเมินการปฏิบัติ *การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน *การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ *การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด *การประเมินตามสภาพจริง *การประเมินตนเองของผู้เรียน *การประเมินโดยเพื่อน แบบเป็นทางการ * การจัดสอบ * การใช้แบบสอบหรือแบบวัด(Test)

  13. หลักฐานการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ (Evidence of Learning) เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นรูปธรรมว่า มีร่องรอย/หลักฐานใดบ้างที่แสดงถึงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่สัมพันธ์โดยตรง กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ผลผลิต ผลการปฏิบัติ รายงานที่เป็นรูปเล่ม สิ่งประดิษฐ์ แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ การรายงานด้วยวาจา การปฏิบัติตามภาคสนาม การจัดนิทรรศการ ฯลฯ

  14. เกณฑ์การประเมิน (Rubrics) เกณฑ์การประเมิน เป็นแนวทางให้คะแนนที่ประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่าง ๆ เพื่อใช้ประเมินค่าผลการปฏิบัติของผู้เรียนในภาระงาน/ชิ้นงาน สามารถใช้ เป็นเครื่องมือในการสอนโดยให้ผู้เรียนได้รับทราบว่าผู้สอนคาดหวัง อะไรบ้างจากชิ้นงานที่มอบหมาย หรือให้ผู้เรียนร่วมในการสร้างเกณฑ์ก็จะ ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ เกณฑ์การประเมิน ประกอบด้วย *แบบแยกประเด็น (Analytic Rubrics) *เกณฑ์การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric)

  15. ประเมินสมรรถนะของผู้เรียนประเมินสมรรถนะของผู้เรียน การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนควรใช้วิธีการประเมินที่เน้นการปฏิบัติ และบูรณาการอยู่ในกระบวนการเรียน การสอนแล้ว ไม่ควรแยกประเมินต่างหากอีก แต่ทั้งนี้สถานศึกษาต้องตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญตามที่หลักสูตรกำหนดหรือไม่

  16. กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร พุทธิพิสัย จิตพิสัย *ผลการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระ *ผลการเรียนรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน *ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ *ผลการเรียนรู้ที่เกิดจากกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทักษะพิสัย

  17. ศึกษา/วิเคราะห์ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จากหลักสูตรสถานศึกษา • - เลือกวิธีการประเมิน • สร้าง/จัดหาเครื่องมือ/ • เกณฑ์การประเมิน จัดทำโครงสร้างรายวิชา และแผนการประเมิน การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8กลุ่มสาระ ชี้แจงรายละเอียดของแผนการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ประเมิน วิเคราะห์ผู้เรียน สอนซ่อมเสริม การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน ประเมินความสำเร็จหลังเรียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่ผ่าน ประเมินปลายปี/ภาค สอบแก้ตัวดำเนินการตามระเบียบสถานศึกษา ไม่ผ่าน สอนซ่อม ตัดสินผลการเรียน ส่งผลการเรียน ผ่าน อนุมัติผลการเรียน เรียนซ้ำรายวิชาตามระเบียบสถานศึกษา รายงานผลการเรียนต่อผู้เกี่ยวข้อง

  18. The End

More Related