1.44k likes | 1.93k Views
หลักสูตรการกำหนดตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โครงการศึกษาข้อมูลและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อรองรับการกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการ สำนักงาน ก.พ. หลักสูตรย่อยต่างๆ. หลักสูตรภาพรวมระบบจำแนกตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
E N D
หลักสูตรการกำหนดตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โครงการศึกษาข้อมูลและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อรองรับการกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการ สำนักงาน ก.พ.
หลักสูตรย่อยต่างๆ • หลักสูตรภาพรวมระบบจำแนกตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • หลักสูตรเรื่องมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์งาน รวมถึงการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน • หลักสูตรเรื่องการประเมินค่างานและการกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องการกำหนดกรอบอัตรากำลังภาคราชการพลเรือน
วิวัฒนาการของระบบตำแหน่งในภาคราชการพลเรือนวิวัฒนาการของระบบตำแหน่งในภาคราชการพลเรือน พ.ร.บ. 2551 พ.ร.บ. 2471 พ.ร.บ. 2518 • พ.ร.บ. ฉบับแรก • เปิดโอกาสให้ประชาชน • รับราชการเป็นอาชีพ • การบริหารงานบุคคล • ยึดโยงกับระบบชั้นยศ • ใช้ระบบจำแนกตำแหน่ง • กำหนดหน้าที่ของ • ตำแหน่งงาน • (Job Description) • กำหนดสายงาน • และระดับตำแหน่ง (ซี) • บัญชีเงินเดือนบัญชีเดียว • จัดกลุ่มประเภทตำแหน่ง • ตามลักษณะงาน • แบ่งเป็น 4 กลุ่ม • เน้นความสามารถของบุคคล • แนวคิด การบริหารผลงาน (Performance Management) ก้าวที่ 1 ก้าวที่ 2 ก้าวที่ 3
แนวคิดหลักในการออกแบบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนสำหรับภาคราชการพลเรือนแนวคิดหลักในการออกแบบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนสำหรับภาคราชการพลเรือน แนวคิดหลักในการออกแบบคือ คนที่มีคุณภาพ ใน งานที่เหมาะสม กับ ทักษะที่ต้องการ และ ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม
หลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์หลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ หลักคุณธรรม (Merit) หลักสมรรถนะ (Competency) หลักผลงาน (Performance ) หลักความสมดุล (Work Life Balance ) กระจายความรับผิดชอบ ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 1 การเปรียบเทียบระบบจำแนกตำแหน่งในภาครัฐ การจัดระบบตำแหน่งในภาครัฐมีหลายรูปแบบโดยสามารถแบ่งได้ดังนี้ ระดับชั้นงานแบบจุด (Spot Structure) ระดับชั้นงานแบบแคบ (Narrow Grade) ผสมแบบควบ (Career Grade) Job C เช่น ข้าราชการอื่นๆ ที่ยังอิงระดับซีเดิม เช่น ข้าราชการ กทม. เช่น อัยการ ข้าราชการตุลาการ ควบ 2 Job B Job A ควบ 1 ระดับชั้นงานแบบกว้าง (Braodbanding) ระดับชั้นงานแบบแคบตามชั้นยศ (Rank Classification) +/-20-30% +/-100-200% Band 2 Band 1 เช่น ข้าราชการครู ข้าราชการพลเรือน เช่น ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 • เมื่อประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปีพุทธศักราช 2540 ทำให้เกิดองค์กรอิสระในภาครัฐ 8 องค์กร ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ถูกยกเลิกไป แต่สถานภาพขององค์กรอิสระยังคงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 องค์กรอิสระทั้ง 8 องค์กร นั้น ได้แก่1) ศาลรัฐธรรมนูญ2) ศาลปกครอง3) ศาลยุติธรรม4) ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา5) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ6) คณะกรรมการการเลือกตั้ง7) สำนักงานคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน8) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ • หน่วยงานเหล่านี้นอกจากจะได้รับเงินเดือนและสวัสดิการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยเงินและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนแล้ว ยังมีการกำหนดเงินเพิ่มพิเศษต่างๆ หรือเงินประจำตำแหน่งภายใน แต่ละหน่วยงานแตกต่างกันไปบ้าง ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น 1) ศาลรัฐธรรมนูญเป็นองค์กรวินิจฉัยสูงสุดในคดีรัฐธรรมนูญ มีอำนาจหน้าที่ควบคุมกฎหมายหรือร่างกฎหมายเพื่อไม่ให้ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มีอำนาจในการพิจารณาวินิจฉัยสมาชิกภาพหรือคุณสมบัติของสมาชิกรัฐสภา รัฐมนตรี คณะกรรมการการเลือกตั้ง และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่างๆ เนื่องจากเป็นองค์กรที่เกิดขึ้นใหม่จึงใช้ระบบค่าตอบแทนเป็นกลไกในการดึงดูดใจคนให้มาทำงานที่หน่วยงาน โดยมีการให้ค่าตอบแทนพิเศษเพิ่มขึ้นตามซีตั้งแต่ 1-8 และยังมีสวัสดิการอื่นๆ ที่ทางหน่วยงานจัดให้นอกเหนือจากข้าราชการ พลเรือนทั่วไป อัตราค่าตอบแทนพิเศษของข้าราชการสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) 2) ตุลาการศาลปกครอง ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น นอกจากเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งแล้ว ตุลาการศาลปกครองยังได้รับเงินค่าพาหนะเดินทาง ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายอื่นในกรณีเดินทางไปราชการ และบำเหน็จ บำนาญ เหมือนกับข้าราชการพลเรือนทั่วไป
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) 3) ตุลาการศาลยุติธรรม ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) 4) ผู้ตรวจราชการแผ่นดินรัฐสภา ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น 5) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.)
ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น 6) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)
ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา • การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการครูจะอิงกับ พรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และปรับปรุงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 โดยมีการกำหนดข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี 3 ประเภทดังนี้ • ค. ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น มีดังต่อไปนี้ • ศึกษานิเทศน์ • ตำแหน่งที่เรียกชื่ออื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดหรือตำแหน่งของข้าราชการที่ ก.ค.ศ. นำมาใช้กำหนดให้เป็นตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา • ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาได้แก่ตำแหน่งดังต่อไปนี้ • รองผอ. สถานศึกษา • ผอ.สถานศึกษา • รองผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • รองผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด • ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา ได้แก่ตำแหน่งดังต่อไปนี้ • ครูผู้ช่วย • ครู • อาจารย์ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ • รองศาสตราจารย์ • ศาสตราจารย์
ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นอกจากนั้นการกำหนดตำแหน่ง ยังมีการกำหนดวิทยฐานะเพื่อกำหนดเงินประจำตำแหน่งของตำแหน่งบุคลากรโดยมีการแบ่งวิทยฐานะดังนี้ • ง. ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ มีวิทยฐานะได้แก่ • ศึกษานิเทศน์ชำนาญการ • ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ • ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ • ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ • ค. ตำแหน่งผู้บริหารการศึกษา มีวิทยฐานะได้แก่ • รอง ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชำนาญการพิเศษ • รอง ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ • ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ • ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญพิเศษ • ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะได้แก่ • ครูชำนาญการ • ครูชำนาญการพิเศษ • ครูเชี่ยวชาญ • ครูเชี่ยวชาญพิเศษ • ข.ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษามีวิทยฐานะได้แก่ • รอง ผอ. ชำนาญการ • รอง ผอ. ชำนาญการพิเศษ • รอง ผอ. เชี่ยวชาญ • ผอ. ชำนาญการ • ผอ. ชำนาญการพิเศษ • ผอ. เชี่ยวชาญ • ผอ. เชี่ยวชาญพิเศษ จ. ตำแหน่งเรียกชื่ออื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้มีวิทยฐานะ
ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการอัยการระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการอัยการ • มีการกำหนดชั้นเงินเดือนตามตำแหน่ง (มาตรา 24 ใน พรบ. ระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ) และได้เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งเป็นเม็ดเงินตามระดับตำแหน่ง • การกำหนดเช่นนี้ทำให้การเลื่อนเงินเดือนจะไม่เกิดขึ้นทุกปี (ยกเว้นในกรณีปรับฐานโครงสร้างเงินเดือนเลยซึ่งปรับครั้งล่าสุด พ.ศ. 2551 ที่ผ่านมา) • อย่างไรก์ดีจากการเปลี่ยนแปลงในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2551 ได้บัญญัติให้องค์กรอัยการมีอิสระในการบริหารงานบุคคล ดังนั้นในปัจจุบันมีการร่าง พรบ. เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการอัยการใหม่ ซึ่งกำลังจะยกเลิกบางตำแหน่ง และกำหนดให้บางตำแหน่งเป็นตำแหน่งที่เลื่อนไหลได้ เช่นรองอัยการสูงสุด ได้รับเงินเดือนในตำแหน่งชั้น 7-8 ได้ หรือรองอัยการจังหวัดได้รับเงินเดือนในระดับชั้น 3-4 เป็นต้น จากพระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดิอนของข้าราชการอัยการ พ.ศ. 2551
ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการทหารระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการทหาร • ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการทหาร ยังคงเป็นแบบชั้นยศเหมือนเดิม แม้ว่าจะมีการปรับ พรบ. ระเบียบข้าราชการทหารในปี พ.ศ. 2551 กล่าวคือแบ่งทหารออกเป็น • ทหารกองประจำการและนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม • ข้าราชการทหารแบ่งออกเป็น 2 ระดับได้แก่ชั้นประทวน (ตั้งแต่จ่าสิบตรี จนถึงพันจ่าอากาศเอกพิเศษ) และชั้นสัญญาบัตร (ตั้งแต่ร้อยตรี จนถึง พลเอกหรือจอมพล) • ใน พรบ. ใหม่ยังกำหนดให้ข้าราชการทหารบางตำแหน่งมีสิทธิได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน ประกอบกับในปัจจุบัน นอกจากนั้นยัง • กำหนดให้บางตำแหน่งเป็นตำแหน่งที่เลื่อนไหลได้ เช่น นายทหารสัญญาบัตรยศร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี ถึงร้อยเอก เรือเอก เรืออากาศเอกให้ได้รับเงินเดือนระดับ น. ๑ ถึง น. ๒ หรือให้ข้าราชการทหารซึ่งได้รับเงินเดือนเต็มขั้นสูงสุดของระดับที่ตนได้รับอยู่ในขณะนั้นในปีงบประมาณใด หากผ่านการประเมินสมรรถภาพความประพฤติ ความรู้ความสามารถและผลการปฏิบัติหน้าที่แล้วให้มีสิทธิได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้นตามที่กำหนดไว้โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงกลาโหมกำหนด จาก พรบ. ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2551
ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการตำรวจระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการตำรวจ • ระบบตำแหน่งของตำรวจ ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการตำรวจ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2538 มีความคล้ายคลึงกับของข้าราชการทหารกล่าวคือเป็นลักษณะการชั้นงานตามชั้นยศ (Rank Classification) กล่าวคือแบ่งตำรวจออกเป็น • พลตำรวจกองประจำการและพลตำรวจสำรอง • ข้าราชการตำรวจแบ่งออกเป็น 2 ระดับได้แก่ ชั้นประทวน (ตั้งแต่สิบตำรวจตรี จนถึงนายดาบตำรวจ) และชั้นสัญญาบัตร (ตั้งแต่ร้อยตำรวจตรี จนถึง พลตำรวจเอก) • โดยแต่ละชั้นยศจะมีการกำหนดการได้รับเงินเดือนแบบเป็นขั้นตั้งแต่ระดับ พ. 1-2 ป. 1-3 ส. 1-9 • ปัจจุบันมีการปรับโครงสร้างเงินเดือนครั้งสุดท้ายเมื่อ พ.ศ. 2551 จากพระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐
ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการการเมืองระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการการเมือง • ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองและข้าราชการเมือง มีการกำหนดโครงสร้างตำแหน่งเหมือนกันคือกำหนดตาม ชื่อตำแหน่ง เป็นโครงสร้างจุดเดียว (Spot Rate) จากพระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐
ระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทยระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทย • บริบททางธุรกิจ เช่น เป็นบริษัทพึ่งเริ่มก่อตั้ง บริษัทที่อยู่มาระยะหนึ่งต้องการขยายกิจการ ฯลฯ • ลักษณะของธุรกิจ เช่น ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจอุตสาหกรรมหนัก ธุรกิจอาหาร ฯลฯ • ขนาดของธุรกิจ เช่น จำนวนพนักงาน จำนวนสาขา/สถานที่ประกอบการ • ลักษณะความเป็นเจ้าของ (เช่น เป็น Family owned business บริษัทข้ามชาติ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหุ้น) • ความเข้มแข็งของผู้บริหารและระบบทรัพยากรบุคคล สำหรับในเอกชนนั้นการกำหนดตำแหน่งและค่าตอบแทนที่มีหลากหลายขึ้นอยู่กับ ดังนั้นในการเปรียบเทียบในรายงานฉบับนี้จึงเป็นการแสดงความหลากหลายของกลุ่มองค์กรเอกชนจำนวนหนึ่ง เท่านั้นโดยที่ไม่อาจสรุปได้ว่าองค์กรเอกชนทั้งหมดจะมีรูปแบบและวิธีการบริหารตำแหน่งและค่าตอบแทนเป็น เช่นเดียวกับที่นำเสนอในรายงานนี้
ระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทยระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทย โดยทั่วไปองค์กรเอกชนจะมีกระบวนการการจัดตำแหน่งใน 4 ลักษณะกล่าวคือ • โครงสร้างตำแหน่งเดียว และมีชั้นงานแบบแคบ กล่าวคือทุกตำแหน่งจะถูกจัดอยู่ในโครงสร้างตำแหน่งเดียวซึ่งมีระดับชั้นงานจำนวนมาก (Narrow Grade) บริษัทเอกชนส่วนใหญ่จะใช้วิธีนี้เนื่องจากบริหารจัดการง่าย และการจ่ายค่าตอบแทนขึ้นกับผลการประเมินค่างาน ตัวอย่างเอกชนที่ใช้ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบด้วยงานตั้งแต่ช่าง (technician) นักวิชาการ/วิชาชีพ เช่น วิศวกร และผู้บริหาร นอกจากนั้นรัฐวิสาหกิจหลายๆ แห่งในประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้ • โครงสร้างตำแหน่งหลายโครงสร้างตามวิชาชีพ/ลักษณะงาน และมีการชั้นงานแบบแคบ กล่าวคือเป็นการประยุกต์ใช้ระบบการจัดชั้นงานแบบแคบ (Narrow Grade) แต่เพิ่มความซับซ้อนในการบริหารงานกล่าวคือมีการจัดโครงสร้างตำแหน่งแตกต่างกันตามวิชาชีพ เช่น บางแห่งแบ่งเป็นงานสนับสนุนกับงานวิชาชีพหลัก หรือบางแห่งแบ่งตามวิชาชีพ เช่น โครงสร้างตำแหน่งวิศวกร โครงสร้างตำแหน่งบุคลากร โครงสร้างตำแหน่งการเงินและบัญชี เป็นต้น • โครงสร้างตำแหน่งเดียว และมีการชั้นงานแบบกว้าง (Broadbanding) กล่าวคือทุกตำแหน่งจะถูกจัดอยู่ในโครงสร้างตำแหน่งเดียวซึ่งมีระดับชั้นงานน้อยและกว้างบริษัทเอกชนส่วนใหญ่จะใช้วิธีนี้เนื่องจากโครงสร้างในการบริหารเป็นแบบ Flat Organization และการปรับเปลี่ยนงานและรูปแบบการทำงานเป็นไปรวดเร็วมาก การบริหารจัดการเน้นการจ่ายตามความสามารถคน มากกว่าค่าของตำแหน่ง ตัวอย่างเอกชนส่วนใหญ่ที่ใช้จะอยู่ในธุรกิจ IT ธุรกิจผลิตภัณฑ์บริโภค (FMCGs) ซึ่งมีการแข่งขันสูง • โครงสร้างตำแหน่งหลายโครงสร้างตามวิชาชีพ/ลักษณะงาน และมีการชั้นงานแบบกว้าง (Broadbanding)
ระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทย (ต่อ) ความแตกต่างของการจำแนกตำแหน่งในเอกชนหลายๆ แห่งอยู่ที่กลไกในการบริหารตำแหน่งมากกว่า เช่น มีกลไกในการวางระบบในการเลื่อนระดับที่แตกต่างกันในแต่ละตำแหน่งงาน
หลักสูตรย่อยต่างๆ • หลักสูตรภาพรวมระบบจำแนกตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • หลักสูตรเรื่องมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์งาน รวมถึงการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน • หลักสูตรเรื่องการประเมินค่างานและการกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องการกำหนดกรอบอัตรากำลังภาคราชการพลเรือน
วัตถุประสงค์การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งวัตถุประสงค์การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เพื่อปรับปรุงและทบทวนสายงานในราชการพลเรือนทั้งระบบให้สะท้อนผลสัมฤทธิ์ในระบบราชการ เพื่อกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนอันนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ระบุได้ชัดเจน เพื่อจำแนกตำแหน่งข้าราชการเป็นกลุ่มตามลักษณะงาน การบริหารค่าตอบแทนและการวางหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลที่แตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการบรรจุบุคคลซึ่งจะให้ความสำคัญกับสมรรถนะ (Competency) และผลงาน (Performance) ของบุคคลมากขึ้น เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างข้าราชการ ส่วนราชการเอกชน บุคคลทั่วไป 32
ประโยชน์ของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งประโยชน์ของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • เป็นเครื่องมืออธิบายลักษณะงานโดยทั่วไปของตำแหน่งต่างๆ ในแต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมืออธิบายระดับตำแหน่งในแต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมืออธิบายผลสัมฤทธิ์โดยรวมของตำแหน่งต่างๆ ในแต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมือบริหารผลการปฏิบัติงานให้ผลงานสอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์แต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมือบริหารกำลังคนให้มีความรู้ความสามารถเหมาะกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ • เป็นเครื่องมือในการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ
แนวคิดในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแนวคิดในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ระดับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ผู้ปฏิบัติงานจำเป็นต้องมีเพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ความหมาย เป็นแบบบรรยายลักษณะงานแบบย่อที่ระบุลักษณะงานโดยสังเขป เน้นการมุ่งผลสัมฤทธิ์ประจำตำแหน่ง โดยมีรายละเอียดประกอบด้วยหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคุณวุฒิที่จำเป็น ได้แก่ ระดับความรู้ ทักษะและสมรรถนะประจำตำแหน่ง ลักษณะพฤติกรรมการทำงานที่เหมาะสมต่อตำแหน่งและจะช่วยส่งเสริมผลงาน ทักษะ/ความรู้Skills/Knowledge (ปัจจัยนำเข้า) Competencies (พฤติกรรม/ ขั้นตอน) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันว่าตำแหน่งงานในระบบ ราชการพลเรือนแต่ละตำแหน่งมีขอบเขตภารกิจหน้าที่ รับผิดชอบเฉพาะตำแหน่งอย่างไร ตลอดจนมีเกณฑ์ คุณวุฒิ คุณสมบัติอย่างไร และผู้ดำรงตำแหน่งควรจะ ประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับ ตำแหน่งและบรรลุผลสัมฤทธิ์ของตำแหน่งได้ดียิ่งขึ้น หน้าที่รับผิดชอบหลัก Accountabilities (ผลสัมฤทธิ์) ขอบเขตผลลัพธ์หลักของงานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องทำให้สำเร็จจึงจะถือว่าสามารถปฏิบัติงานได้ตามวัตถุประสงค์ของตำแหน่งงานในระดับที่ได้มาตรฐาน
หลักการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งหลักการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ปัจจุบัน อนาคต • เพิ่มความคล่องตัวในการบริหาร “คน” • (สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ ฯลฯ) • ปรับปรุงสายงานให้เหมาะสม (จำนวน • สายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ และ คุณสมบัติ • เฉพาะสำหรับตำแหน่ง) • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กว้างขึ้น • เน้นบทบาท(role) ในการปฏิบัติงาน • สอดคล้องกับแนวคิด “คนสร้างงาน” และ • knowledgeworkers • กำหนดวุฒิการศึกษากว้างขึ้น ให้ สรก. • พิจารณาให้เหมาะสมกับตำแหน่งและการแต่งตั้ง • ก.พ. บริหารจัดการเฉพาะสายงานกลาง • (service-wide) • สายงานมีความหลากหลาย • ค่อนข้างมาก (465สายงาน) • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ • และคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ • ตำแหน่งชัดเจนมาก ทำให้ขาด • คล่องตัวในการบริหาร “คน” • มุ่งเน้นความชำนาญในสายอาชีพ • (specialization) • ก.พ. บริหารจัดการทุกสายงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • ก.พ. เป็นผู้จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งสำหรับทุกประเภทตำแหน่ง และทุกสายงาน • ส่วนราชการมีส่วนร่วมในการจัดทำให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและลักษณะงานตามความจำเป็นของส่วนราชการ • กำหนดสายงานให้เปิดกว้าง รวมสายงานที่มีลักษณะคล้ายกันเข้าด้วยกัน โดย ส่วนราชการสามารถใช้ดุลพินิจในการสรรหา แต่งตั้ง โอน ย้าย ได้ตามความต้องการของงานอย่างแท้จริง • ส่วนประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเป็นไปตามข้อกฎหมาย • ชื่อตำแหน่งในสายงาน • หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • สาระของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเน้นเนื้อหาข้อความที่กำหนดขึ้นเป็นรูปแบบเดียวกัน • การปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จะพิจารณาให้เป็นไปตามที่ ส่วนราชการแจ้งความจำเป็นมาเป็นหลัก
แนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • เขียนถึงระดับชำนาญงาน ทุกสายงาน • เขียนถึงระดับอาวุโส เฉพาะสายงานที่มีการกำหนดระดับตำแหน่งนี้อยู่ใน • ปัจจุบัน ประเภททั่วไป • เขียนถึงระดับชำนาญการพิเศษ ทุกสายงาน • เขียนถึงระดับเชี่ยวชาญหรือ คุณวุฒิ เฉพาะสายงานที่มีการกำหนดระดับ ตำแหน่งนี้อยู่ในปัจจุบัน ประเภทวิชาการ ประเภทอำนวยการ • เขียน 2 สายงาน จำนวน 2 ระดับ ได้แก่ (1) อำนวยการ (2) อำนวยการเฉพาะด้าน • เขียน 4 สายงาน จำนวน 2 ระดับ ได้แก่ (1) บริหาร(2)บริหารการทูต(3)บริหารงานปกครอง(4)ตรวจราชการกระทรวง ประเภทบริหาร
บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 45 จัดประเภทตำแหน่งข้าราชการ มี 4 ประเภท มาตรา 46จัดระดับตำแหน่งข้าราชการ มาตรา 47 การกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48 มาตรา 48 ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งโดยจำแนกตำแหน่งเป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ระบุชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไว้ด้วย
ความหมายของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งความหมายของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง คือ เอกสารสำคัญเกี่ยวกับตำแหน่งที่ ก.พ. จัดทำไว้ตามกฎหมาย เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐานในการกำหนดตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญทุกตำแหน่ง และใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารงานบุคคลด้านต่าง ๆ เช่น • ใช้เป็นเครื่องมือประกอบการพิจารณากำหนดตำแหน่ง • ใช้เป็นเครื่องมือในการรับสมัครสอบแข่งขันและคัดเลือก • ใช้ประโยชน์ในการบรรจุ แต่งตั้ง ย้าย โอน ข้าราชการพลเรือนสามัญ และการตรวจสอบคำสั่ง • ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดหลักสูตรการสอบแข่งขัน คัดเลือก และเลือกสรรบุคคลเข้าดำรงตำแหน่ง • ใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาประเมินบุคคล • ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดหลักสูตร การจัดการฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล
องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งองค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเมือง พ.ศ. 2551 องค์ ประกอบ ตาม ม. 48 ชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • ตำแหน่งประเภท • ชื่อสายงาน • ระดับตำแหน่ง • ความรู้ความสามารถ ทักษะ • และสมรรถนะที่จำเป็น • สำหรับตำแหน่ง • เลขรหัส/วันที่จัดทำ องค์ ประกอบ อื่น ๆ
รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่งรหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง X - X - X XX - X ระดับตำแหน่ง กลุ่มอาชีพ สายงาน ประเภทตำแหน่ง 1. กลุ่มงานบริหาร อำนวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูตและต่างประเทศ2. กลุ่มงานการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม3. กลุ่มงานคมนาคม ขนส่ง และ ติดต่อสื่อสาร4. กลุ่มงานเกษตรกรรม 5. กลุ่มงานวิทยาศาสตร์6. กลุ่มงานแพทย์ พยาบาลและสาธารณสุข7. กลุ่มงานวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และช่างเทคนิคต่างๆ8. กลุ่มงานการศึกษา ศิลปะ สังคม และการพัฒนาชุมชน 1 บริหารระดับต้น 2 บริหารระดับสูง 1 อำนวยการระดับต้น 2 อำนวยการระดับสูง 1 . ประเภทบริหาร 2 . ประเภทอำนวยการ 3 . ประเภทวิชาการ 4 . ประเภททั่วไป 001 บริหาร 002 บริหารงานปกครอง 003 บริหารการทูต 004 ตรวจราชการกระทรวง
ประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ ประเภทอำนวยการ ประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ตำแหน่งที่มีฐานะและหน้าที่ในการบริหารงาน เป็นหัวหน้าส่วนราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง กรม ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ทักษะความสามารถเฉพาะ หรือเทคนิคเฉพาะด้าน หรือให้บริการ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา และไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ในทางวิชาการหรือวิชาชีพ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ. กำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น ตำแหน่งที่มีฐานะและหน้าที่ในการบริหารงาน (จัดการ)เป็นหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม
ชื่อตำแหน่งในสายงาน ชื่อตำแหน่งในการบริหารงาน แนวทางการกำหนดชื่อตำแหน่งในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ชื่อตำแหน่ง กำหนดขึ้นตามมาตรา 44 ซึ่งไม่ได้กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เช่น กำหนดขึ้นตามลักษณะงาน เช่น • นักบริหาร • ผู้อำนวยการ • นักวิเคราะห์นโยบายและแผน • ปลัดกระทรวง /อธิบดี • ผู้อำนวยการสำนัก / กอง • นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก การสรุปสาระงาน หรือ Job Summary จะปรากฏอยู่ในส่วนหน้าที่ ความรับผิดชอบหลัก ซึ่งจะใช้เป็น “มาตรวัด” เบื้องต้นในการพิจารณา กำหนดระดับตำแหน่งในสายงานนั้นๆ ดังนั้น หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ของตำแหน่งแต่ละระดับได้เขียนให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ใน การกำหนดตำแหน่งสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งนั้น ตามที่กำหนดไว้ในกฎ ก.พ. ตามมาตรา 46
การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น • ปฏิบัติงานในฐานะรองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม • ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม กระทรวง ระดับสูง
การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภทอำนวยการ • ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือสำนักในราชการบริหารส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคซึ่งลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก ระดับต้น • ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือสำนักในราชการบริหารส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคซึ่งลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ ระดับสูง
การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภทวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ที่ไม่ยาก ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ ปฏิบัติการ • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์สูง • ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญสูง ชำนาญการ • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญในงานสูงมาก • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ และความชำนาญในงานสูงมากตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก ชำนาญการพิเศษ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ ที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากและมีผลกระทบในวงกว้าง • ผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวง/กรม เชี่ยวชาญ • ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ • ผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวง ซึ่งมีความรู้ มีความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ทรงคุณวุฒิ
การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภททั่วไป ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานตามแนวทาง ขั้นตอน วิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาที่ค่อนข้างยาก • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงาน อาวุโส • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานค่อนข้างสูงในงานเทคนิคเฉพาะด้านหรืองานที่ใช้ทักษะเฉพาะตัว • หัวหน้างานที่ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานค่อนข้างสูง รับผิดชอบงานที่หลากหลาย ทักษะพิเศษ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความทักษะพิเศษเฉพาะตัว มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ ใช้ทักษะและความชำนาญเฉพาะตัวสูง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • 1) คุณวุฒิการศึกษา • 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + • ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) • 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • กำหนดรูปแบบการเขียน • คุณวุฒิการศึกษาสำหรับ • ตำแหน่งระดับแรกบรรจุ เป็น • 3 แบบ • 1. สายงานเปิด • 2. สายงานกึ่งปิด • 3. สายงานปิด • สกพ. + ส่วนราชการ ร่วมกำหนดคุณวุฒิให้เหมาะสมกับลักษณะงานและการสรรหา
O1 k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา สายงานเปิด “ ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ” “ ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิหลากหลาย ตามที่สรก. เห็นว่าเหมาะสม เช่น เจ้าพนักงานธุรการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการแรงงาน เป็นต้น
“ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชากฎหมายหรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง หรือหลายสาขาวิชาดังกล่าว ในทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ…” “ได้รับประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หรือสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ดังกล่าวในทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ…” O1 k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา (ต่อ) สายงานกึ่งปิด สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิบางสาขาวิชาที่กำหนดไว้เท่านั้นแต่สามารถเลือกทางในสาขาดังกล่าวได้ เช่น เจ้าพนักงานเคหกิจการเกษตร นักวิชาการคลัง เป็นต้น
O1 k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา (ต่อ) สายงานปิด “ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรืออนุปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ…” “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์…” สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง เช่น โภชนากร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา (ต่อ) แบบที่ 2 “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรม และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด…” สายงานปิด สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง และต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากองค์กรวิชาชีพตามกฎหมาย เช่น สายงานสถาปัตยกรรม เป็นต้น
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • 1) คุณวุฒิการศึกษา • 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + • ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) • 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หลักการในการกำหนดระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง • ระยะเวลาดำรงตำแหน่งเป็นการสั่งสม ประสบการณ์ที่จำเป็น (expertise) สำหรับการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง กำหนดจากเวลาดำรง ตำแหน่งโดยเฉลี่ยของผู้มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น จึงกำหนดไว้เป็นระยะเวลาขั้นต่ำการ ดำรงตำแหน่งก่อนที่จะเลื่อนหรือย้ายไปดำรง ตำแหน่งที่สูงขึ้น • เปิดโอกาสให้ผู้มีผลการปฏิบัติงานดี ได้ประเมินเพื่อเลื่อนระดับตำแหน่งก่อน(เงินเดือนถึงค่ากลางก่อน)
ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง • เหตุผลการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง: • เพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้น • แนวคิดพื้นฐาน: • การจ้างงานในราชการเป็นการจ้างงานระยะยาว 35-40 ปี • จำเป็นต้องมีการสั่งสมประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความรับผิดชอบในระดับที่สูงขึ้น • ระยะเวลาต้องพิจารณาจากการรวบชั้นงานเดิมเข้าด้วยกัน ทำให้มีชั้นงานน้อยลง • พิจารณาประกอบกับเงื่อนไขระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน • สามารถแยกแยะระหว่างผู้ปฏิบัติงานที่มีผลงานดีเด่นกับผู้ปฏิบัติงานอื่น • ระยะเวลาดำรงตำแหน่งเป็นเพียงเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการแต่งตั้งบุคคล • ให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น • ต้องผสานเข้ากับระบบบริหารผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะของบุคคล • คำนึงถึงคุณภาพผลงาน ประสิทธิภาพของราชการที่จะได้รับจากการปฏิบัติงานของบุคคล • คำนึงถึงโครงสร้างกำลังคนภาครัฐที่เหมาะสมกับช่วงเวลาหนึ่งๆ
ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง (ต่อ)
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • 1) คุณวุฒิการศึกษา • 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + • ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) • 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักการ • ส่วนราชการสามารถกำหนดให้เหมาะสมกับตำแหน่ง ตามแนวทาง (คู่มือ)ที่ ก.พ. กำหนด • ตาม ว27/2552 และ ว7/2553