380 likes | 767 Views
มหกรรมนำเสนอผลงานวิชาการสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2551. วันที่ 26 – 27 สิงหาคม 2551. (ประเภทผลงานการวิจัยหรือ miniresearch ). “การให้คำแนะนำการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน”. นำเสนอโดย......เภสัชกรฮาเซ็ม จานิ
E N D
มหกรรมนำเสนอผลงานวิชาการสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสประจำปี 2551 วันที่ 26 – 27 สิงหาคม 2551 (ประเภทผลงานการวิจัยหรือ miniresearch)
“การให้คำแนะนำการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน” นำเสนอโดย......เภสัชกรฮาเซ็ม จานิ ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสุไหงปาดี
ที่มาของปัญหา • เดือนรอมฎอนเป็นช่วงของการถือศีลอด ผู้ป่วยจะงดบริโภคอาหารทุกชนิด รวมทั้งยารักษาโรค • มีผลกระทบต่อโรคบางอย่างที่ผู้ป่วยที่ต้องกินยาอย่างต่อเนื่อง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและภาวะไขมันในเลือดสูง • เนื่องจาก “อาหาร” เป็นปัจจัยหลักในการควบคุมโรค • ผู้ป่วยข้อจำกัดจากการถือศีลอด ผู้ป่วยไม่กินยาตามฉลาก • แต่ปรับวิธีกินเองตามสะดวก เช่น ปรับ 1X3 เป็น 1X2
ที่มาของปัญหา • การปรับวิธีการกินยาไม่เหมาะสม เกิดอาการแทรกซ้อนอื่นตามมา เช่น Hypoglycemia/Hyperglycemia • บทบาทเภสัชกร : การให้คำแนะนำในการปรับวิธีการกินยาที่ถูกต้อง ในช่วงถือศีลอด และสังเกตอาการไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ผู้ป่วยเบาหวาน มีการปรับวิธีการกินยาเองอย่างไร? แล้วในช่วงถือศีลอด เภสัชกรจะให้คำแนะนำที่ถูกต้องอย่างไร?
แหล่งข้อมูลองค์ความรู้แหล่งข้อมูลองค์ความรู้ • แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model ; HBM ) การนำ HBM ไปใช้ในทางเภสัชกรรม :Fincham และ Wertheimer พบว่าปัจจัยที่สำคัญของ Noncompliance เกิดจากผู้ป่วยขาดความเชื่อในประโยชน์ของการใช้ยาและขาดข้อมูลที่เกี่ยวกับการใช้ยา • Monira AA., Radhia B., John B., et al. Recommendations for Management of Diabetes During Ramadan. Diabetes Care. 2005 Sep; 28(9). 2305-2311.
Table 3 - Recommended changes to treatment regiment in patients with type 2 diabetes who fast during Ramadan Diabetes Care, Vol. 28, No. 9, Sep 2005. Page 2310.
วัตถุประสงค์ • เพื่อติดตามผลของการให้คำแนะนำการใช้ยาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือดช่วงการถือศีลอด • เพื่อติดตามอุบัติการณ์หรือปัจจัยอื่นๆ ที่เกิดจากการใช้ยาร่วมกันของกลุ่มเป้าหมาย • เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการเฝ้าระวังปัญหาจากการใช้ยาร่วมกันของกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มตัวอย่าง • กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานมุสลิมที่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคทางหัวใจและหลอดเลือด ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกในเดือนรอมฎอน ปีงบประมาณ 2550
กรอบแนวคิดการศึกษา การให้คำแนะนำการใช้ยาช่วงถือศีลอด การปรับวิธีการบริหารยา • แบบจำลองความเชื่อทางสุขภาพ • (Health Believe Model : HBM) • การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค • การรับรู้ความรุนแรงของการเป็นโรค • การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันและรักษา • การรับรู้อุปสรรค • แรงจูงใจด้านสุขภาพ • ปัจจัยร่วม COMPLIANCE FBS SBP DBP Wt
Flow Chart การดำเนินงาน ผู้ป่วยเบาหวานมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกตามนัด วิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS และสรุปผล มาพบแพทย์ตามนัดสามครั้ง พยาบาลซักประวัติ ผู้ป่วยตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค้นข้อมูลในเวชระเบียน ติดตามผล FBS BP และระดับไขมันในเลือด สุ่มคัดเลือกเอาเฉพาะ HN ที่มาตามนัด 3 ครั้งติดต่อกัน ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจโดยแพทย์ แพทย์ส่งข้องมูลมาให้ฝ่ายเภสัชกรรมเพื่อจัดยา บันทึก HN และข้อมูลทั่วไปใน Microsoft Access ทุกสัปดาห์ เภสัชกรจ่ายยาแก่ผู้ป่วยพร้อมให้คำแนะนำการใช้ยา เภสัชกรเก็บรวบรวมใบสั่งยาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด
ตัวแปรที่ใช้วัดการดำเนินงานตัวแปรที่ใช้วัดการดำเนินงาน • ระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar ; FBS) • ระดับความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure ; SBP) • ระดับความดันโลหิตตัวล่าง (Diastolic Blood Pressure ; DBP) • น้ำหนักผู้ป่วย (Weight ; Wt)
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา Microsoft Access Microsoft Excel SPSS PERSENT Mean ± S.D. Pair T-test
ระยะเวลาในการดำเนินการระยะเวลาในการดำเนินการ ระหว่างเดือนเมษายน 2549 ถึง ธันวาคม 2549 วันคลินิกเบาหวาน(ทุกวันพุธ) ช่วงเวลา 08:30 – 16:00 น.
ผังปฏิทินชุมชนสุไหงปาดีผังปฏิทินชุมชนสุไหงปาดี
การดำเนินการ • ติดตามผู้ป่วยตามแพทย์นัดติดต่อกัน 3 ครั้ง คือ • ١-ก่อนเข้าเดือนรอมฎอน (ก่อนถือศีลอด) • ٢-ระหว่างเดือนรอมฎอน (ระหว่างการถือศีลอด) • ٣-สิ้นสุดเดือนรอมฎอน (เสร็จสิ้นการถือศีลอด) 67 ตัวอย่าง
ปฏิทินสำหรับการดำเนินการเก็บข้อมูลการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน ประจำ ฮ.ศ. 1428 สีม่วง*** วันคลินิกเบาหวานทั้ง 4 สัปดาห์ที่คาบเกี่ยวอยู่ในเดือนรอมฎอน
ตัวชี้วัด จำนวนผู้ป่วยที่ สามารถควบคุมระดับ FBS ให้อยู่ในช่วง 80-130 mg/dl มีไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 30 *** ตัวชี้วัดจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสาธารณสุขของจังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2550 ของโรงพยาบาล 12 แห่งในจังหวัดนราธิวาส
วิเคราะห์สาเหตุ ผู้ป่วยและญาติ -ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถุกต้อง -ความศรัทธาและความเชื่อ (HBM) เจ้าหน้าที่ ไม่ได้ให้คำแนะนำอย่างละเอียด ขาดทักษะเฉพาะด้าน การกินยาไม่ถูกวิธี ของผู้ป่วยเบาหวานใน เดือนถือศีลอด ระบบ ความเร่งรีบของระบบงาน ขาดการบูรณาการเชิงวิชาชีพ อื่นๆ หลักฐานวิชาการ (Journal) ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานมีไม่มาก
จำนวนผู้ป่วยแบ่งตามโซนตำบลจำนวนผู้ป่วยแบ่งตามโซนตำบล
ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร ในระยะ 3 ช่วงเวลา ที่เป็นผลมาจากการบริหารยาลดน้ำตาลในเลือดและยารักษาความดันโลหิตสูงของผู้ป่วย
เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของตัวแปร ก่อนและหลังการให้คำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการกินยา ในช่วงเดือนการถือศีลอด
ร้อยละ 30 ของผู้ป่วยที่สามารถควบคุม FBS อยู่ในช่วง 80 – 130 mg/dl
สรุปผลการศึกษา (เชิงสถิติ) • กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ได้รับการให้คำแนะนำวิธีการใช้ยาในช่วงการถือศีลอด จำนวน 67 คน • ค่า FBS ของผู้ป่วย ก่อนและหลังการให้คำแนะนำ มีความแตกต่างกัน โดยลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จาก 186.42 ± 84.19 mg/dl เป็น 155.79 ±61.62 mg/dl • ส่วนค่าอื่นๆ (SBP,DBP,WT) ไม่มีความแตกต่างกัน (p>0.05)
สรุปผลการศึกษา (เชิงพัฒนาคุณภาพ) • ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับFBS ให้อยู่ในช่วง 80-130 mg/dl ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 - ช่วงระหว่างถือศีลอด (ช่วงให้คำแนะนำ) มีเพียง 16 คน คิดเป็นร้อยละ 23.88 - หลังการถือศีลอด (ติดตามผล) มีจำนวนเพิ่มขึ้นมาเป็น 26 คนคิดเป็นร้อยละ 38.81
ข้อจำกัดของผลการศึกษาข้อจำกัดของผลการศึกษา Population Sample 67 คน N มีจำนวนน้อย
ข้อจำกัดของผลการศึกษาข้อจำกัดของผลการศึกษา • ตัวแปรบางตัวควบคุมได้ไม่หมด - แบบแผนและพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วย - ระดับความสามารถในการรับรู้เรื่องโรคและยา - สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ - สภาพทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย - Compliance
ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด)ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด) • Pre-Ramadan educational counseling - การดูแลตนเอง - การสังเกตอาการ Hyper/Hypoglycemia ด้วยตนเอง - การจัดการเรื่องการรับประทานอาหาร - การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ - การให้ความรู้เรื่องการใช้ยา
ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด)ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด) • เพศหญิง • แม่บ้าน • อายุ >40 ปี • พื้นที่ (ต.ริโก๋ ต.ปะลุรู ต.สากอ) • โรคร่วม Hypertension Hyperlipidemia Dyspepsia Public Health Social Epidermiology Primary Care Unit Home Health Care
ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด)ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด) • HOME HEALTH CARE • Drug Related Problems(DRP) Planning - Drug-DrugInteraction -Drug-Food Interaction - Adverse Drug Reactions