1 / 110

DRG and doctor

DRG and doctor. DRG. D iagnosis R elated G roup กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม. สาเหตุที่ต้องใช้ DRG. เพราะการจ่ายเงินด้วยวิธี fee-for-service แพงเกินไป เพราะการจ่ายเงินด้วยวิธี capitation ทำให้บริการน้อยเกินไป. DRG. การจัดกลุ่มโรคที่มีความรุนแรงและใช้ทรัพยากรใกล้เคียงกันเข้าเป็นกลุ่มเดียวกัน

filia
Download Presentation

DRG and doctor

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DRG and doctor

  2. DRG Diagnosis Related Group กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม

  3. สาเหตุที่ต้องใช้ DRG เพราะการจ่ายเงินด้วยวิธี fee-for-service แพงเกินไป เพราะการจ่ายเงินด้วยวิธี capitation ทำให้บริการน้อยเกินไป

  4. DRG การจัดกลุ่มโรคที่มีความรุนแรงและใช้ทรัพยากรใกล้เคียงกันเข้าเป็นกลุ่มเดียวกัน ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรเงิน การจ่ายเงินและการประเมินผลงานการจัดบริการของโรงพยาบาลและแพทย์ การสร้างมาตรฐานการคิดค่าบริการทางการแพทย์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

  5. การเฉลี่ยความเสี่ยง

  6. องค์ประกอบของ DRGs ความหนักเบาของการเจ็บป่วย การทำนายผลการรักษา ความยากง่ายของการรักษา ความจำเป็นในการผ่าตัดรักษา ความต้องการใช้ทรัพยากรโรงพยาบาล

  7. ข้อมูลระดับผู้ป่วยแต่ละรายข้อมูลระดับผู้ป่วยแต่ละราย วินิจฉัยโรค (ICD-10 diagnosis codes) การผ่าตัด (ICD-9-CM procedure codes) จำนวนวันนอนในโรงพยาบาล อายุ น้ำหนักแรกเกิด (neonates) การจำหน่ายผู้ป่วย

  8. ข้อมูลในการจัดกลุ่ม Thai DRG • โรคหลัก • การวินิจฉัยอื่นๆ • โรคแทรก (Complication) • โรคร่วม (Comorbidities) • การผ่าตัดและหัตถการ • อายุ • สถานภาพการจำหน่ายผู้ป่วย • จำนวนวันนอน รพ. (Admit/Discharge/Leave day) • น้ำหนักเด็กแรกเกิด (แรกรับ) ICD-10 ICD-9-CM (Procedure)

  9. ข้อมูลในการจัดกลุ่ม Thai DRG รหัสการวินิจฉัยโรค (PDx & SDx) • ใช้รหัส ICD-10 WHO (2007) และ ICD-10-TM (2007) ที่เพิ่มจาก WHO 1,053 รหัส โดยมีคำว่า “(TM)” ต่อท้าย Description • PDx มีได้ 1 รหัสเท่านั้น • SDx มีได้ 0 ถึง 12 รหัส รหัสการผ่าตัดและหัตถการ (Procedure,Proc) • ใช้ รหัส ICD-9-CM (2007) • แต่ละรายมีได้ 0 ถึง 20 รหัส • แต่ละรหัสอาจมีส่วนขยาย (Extension) เพื่อระบุการทำหลายครั้งหรือตำแหน่ง แต่ต้องบันทึกให้ถูกต้องตามข้อกำหนดในหนังสือ

  10. RW(relative weight) ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ค่าเฉลี่ยของการใช้ทรัพยากร ในการรักษาผู้ป่วย DRG นั้น เทียบกับต้นทุนเฉลี่ยของการรักษาผู้ป่วยทั้งหมด Mean charge per DRG Aggregate mean charge = RW

  11. วิธีคำนวณน้ำหนักสัมพัทธ์วิธีคำนวณน้ำหนักสัมพัทธ์ DRG 01010 Craniotomy for trauma, no CC Mean Charge for DRG 01010 Aggregate Mean Charge of all patient

  12. ตัวอย่าง • กลุ่มผู้ป่วยอายุ > 17 ปีที่ผ่าตัดสมองเนื่องจากบาดเจ็บ มีต้นทุนการรักษาเฉลี่ย 17,817 บาท • ต้นทุนเฉลี่ยของการรักษาผู้ป่วยในทุกราย8,686 บาท RW 2.0512 17,817 8,686 = =

  13. การกำหนดราคาต่อน้ำหนัก DRG ( Base rate) น้ำหนักสัมพัทธ์ของ DRG 01010 = 2.0512 (Craniotomy for trauma, no CC) ราคา = อัตราต่อหน่วย x น้ำหนักสัมพัทธ์ ราคาของ DRG 01010 = (10,300) x (2.0512) = 21,127.36 บาท

  14. Adjusted RW (AdjRW) ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับตามวันนอน (LOS) Medical กับ Surgical DRGs ใช้สูตรต่างกัน Low outliers มีสูตรไม่เท่ากันในแต่ละวัน High outliers มีสูตรต่างกันเป็นช่วงเวลาที่ยาวขึ้น

  15. ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ค่าวันนอน เฉลี่ย ค่าวันนอน นานเกินเกณฑ์

  16. AdjRW ผู้ป่วยที่วันนอนจริงสูงกว่าเกณฑ์

  17. OT WTLOS/3 WTLOS การปรับค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ RW AdjRW AdjRW LOS

  18. Case long LOS WTLOS 40.25

  19. คุณภาพของการสรุป เวชระเบียนและผลต่อ DRG

  20. A.Principal diagnosis โรคหรือภาวะที่ทำให้นอนรพ.ถ้ามีหลายโรคต้องเลือกโรคที่มีการใช้ทรัพยากรมากที่สุด ถ้าวินิจฉัยไม่ได้ให้เลือกอาการหลักหรือกลุ่มอาการที่มา • C.Complication โรคที่ไม่ปรากฏร่วมกับโรคหลักแต่แรก และเป็นโรคที่มีความรุนแรงของโรคมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อชีวิตสูงมากขึ้นหรือใช้ทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหว่างการรักษาตัวในโรงพยาบาลครั้งนี้ B.Co-morbidity เป็นโรคที่พบร่วมกับโรคหลักและมีความรุนแรงมากพอที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเช่น DM,IHD,CRF,SLE,HT, minor associated injury,MCA Other เช่น dental caries,varicose Vein,acne,pterygium External Cause of Injuries and Poisoning

  21. Main condition • โรคที่ได้รับการวินิจฉัยแน่ชัดเมื่อสิ้นสุดการรักษาในครั้งนั้น และเป็นโรคที่เป็นเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมารับการรักษา • ถ้ามีมากกว่า 1 โรค ให้เลือกโรคที่สิ้นเปลือง • ทรัพยากรในการรักษามากที่สุด • ถ้าไม่สามารถวินิจฉัยได้ชัดเจน อาจใช้อาการหรืออาการแสดงที่ผิดปกติมาใช้เป็นโรคหลักแทน

  22. Main condition • อาการบาดเจ็บที่อยู่ลึกที่สุด • อวัยวะภายในที่อยู่ลึกสุดหรือล่างสุด • เส้นเลือดสำคัญกว่า เส้นประสาทสำคัญกว่า กล้ามเนื้อ • Acute สำคัญกว่า chronic

  23. Principal diagnosis มีได้หนึ่งเดียวเท่านั้น เป็นเหตุสำคัญให้ต้องรับไว้เกิดก่อนรับไว้ อาจเหมือน หรือไม่เหมือนการวินิจฉัยแรกรับ อย่าบันทึกอาการหรืออาการแสดง ถ้าทราบสาเหตุ ถ้ามีหลายโรค เลือกโรคที่รุนแรงที่สุด

  24. บางรหัสห้ามใช้เป็น Principal diagnosis V, W, X, Yกลไกการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ B90-B94Sequelae of infectious and parasitic diseases B95-B97Infectious agents D63.0* Anemia in neoplastic disease Z51.5 Palliative care

  25. บางรหัสควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้เป็น Principal diagnosis R00-R99 Symptoms, signs and abnormal clinical and laboratory findings, not elsewhere classified ถ้าทราบว่าอาการและอาการแสดงนั้นเกิดจากโรคใด ถ้ามีการวินิจฉัยโรคอยู่แล้ว ไม่ต้องลงอาการนั้น

  26. Comorbidity การวินิจฉัยร่วม อาจมีได้หลายการวินิจฉัย เกิดก่อนรับไว้ แต่ไม่สำคัญเท่าการวินิจฉัยหลัก ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ต้องรับการดูแลรักษา มักเป็นโรคเรื้อรัง

  27. ตัวอย่างโรคร่วมที่พบบ่อยๆ - 1 • Chronic diseases - Diabetes mellitus type II - Chronic renal failure - Rheumatoid arthritis - Hypertension - Ischemic heart disease - Systemic Lupus Erythrematosus

  28. ตัวอย่างโรคร่วมที่พบบ่อยๆ - 2 • Multiple injury - Abrasion wounds, laceration wounds - Contusions - Fracture phalanx of fingers or toes, fracture metacarpals, fracture metatarsals - Tear tendon, muscle, vessels of upper and lower extremities

  29. Complication โรคแทรก อาจมีได้หลายโรค เกิดหลังจากรับไว้ในโรงพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ต้องรับการดูแลรักษา มักเป็นโรคเฉียบพลัน หรืออุบัติเหตุ

  30. ตัวอย่างโรคแทรกที่พบบ่อยๆ - 1 • Acute diseases - Surgical wound infection - Deep vein thrombosis - Acute myocardial infarction - Acute renal failure - Acute cystitis - Acute urinary retention - Acute hemorrhagic gastritis - Acute gastroenteritis

  31. ตัวอย่างโรคแทรกที่พบบ่อยๆ - 2 • Medical and surgical complications - Tear internal organ during surgery - Transfusion reaction - Drug allergy and anaphylaxis - Post-spinal block headache

  32. Other diagnosis โรคอื่นๆ อาจมีได้หลายโรค เกิดก่อน หรือหลังจากรับไว้ในโรงพยาบาลก็ได้ ไม่ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ไม่ต้องรับการดูแลรักษา มักเป็นโรคเล็กน้อย

  33. ตัวอย่างโรคอื่นๆที่พบบ่อยตัวอย่างโรคอื่นๆที่พบบ่อย • Dental caries • Dermatophytosis • Alopecia areata • Acne • Varicose vein • Pterygium

  34. EXTERNAL CAUSES OF INJURY • ระบุกลไก หรือสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บ ใช้ภาษาไทยก็ได้ • เช่น Fall from tree หรือตกต้นไม้ , ขับรถยนต์ชนรถบรรทุกสิบล้อ, ซ้อนรถมอเตอร์ไซด์ชนท้ายรถปิกอัพ • กรณีได้รับพิษ ให้ระบุด้วย ว่า เป็นอุบัติเหตุ หรือ จงใจทำร้ายตัวเอง • เป็นข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติผู้ป่วย หรือผู้พบเห็นเหตุการณ์

  35. ในกรณีผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บหรือได้รับพิษ แพทย์ควรบันทึกอย่างชัดเจน . . . Injury ตำแหน่งและรายละเอียดทุกบาดแผล อุบัติเหตุ ถูกทำร้าย หรือทำร้ายตนเอง เหตุเกิดอย่างไร เหตุเกิดที่ไหน เหตุเกิดขณะผู้บาดเจ็บกำลังทำอะไรอยู่

  36. ความถูกต้อง ของการบันทึกเวชระเบียน ถูกต้องตามคำจำกัดความของแบบฟอร์มต่างๆ • Discharge summary • Death certificate • History & Physical Examination • Progress note • Operative notes

  37. ปัญหาที่ทำให้ข้อมูลผิดพลาดปัญหาที่ทำให้ข้อมูลผิดพลาด

  38. ปัญหาที่ทำให้ข้อมูลผิดพลาดปัญหาที่ทำให้ข้อมูลผิดพลาด 3. สรุปขาดสาระสำคัญ 4. โรคหลักไม่สัมพันธ์กับการผ่าตัด 5. รหัสโรคไม่สอดคล้องกับอายุ 6. รหัสโรคไม่สอดคล้องกับเพศ

  39. ผลของการไม่สรุปหัตถการผลของการไม่สรุปหัตถการ

  40. สรุปไม่ครบ

  41. การบันทึกโรคหลัก - ตัวอย่างที่ผิด • ผู้ป่วยประวัติเดิมเป็น เบาหวานความดันโลหิตสูงโรคหัวใจขาดเลือด ครั้งนี้ มีอาการปวดศีรษะมาแพทย์ตรวจพบ ความดันโลหิตสูงมาก BP 200/140 วินิจฉัย Malignant Hypertension รับไว้รักษาในโรงพยาบาล

  42. การบันทึกโรคหลัก - ตัวอย่างที่ถูก • ผู้ป่วยประวัติเดิมเป็น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด ครั้งนี้ มีอาการปวดศีรษะมาแพทย์ตรวจพบ ความดันโลหิตสูงมาก BP 200/140 วินิจฉัย Malignant Hypertension รับไว้รักษาในโรงพยาบาล

More Related