590 likes | 919 Views
โครงการวิเคราะห์และวางแผนกำลังคนที่เหมาะสม สำหรับกรมชลประทาน. 10 พฤษภาคม 2556. หัวข้อในการประชุม 1. อธิบายวิธีและขั้นตอนการวิเคราะห์ 2. แสดงผลวิเคราะห์อัตรากำลังคนที่เหมาะสมในปัจจุบัน 3. แนวทางการจัดสรรกำลังคนของพนักงานราชการ 3,026 อัตรา. วิธีวิเคราะห์กำลังคน. วิธีวิเคราะห์กำลังคน.
E N D
โครงการวิเคราะห์และวางแผนกำลังคนที่เหมาะสมโครงการวิเคราะห์และวางแผนกำลังคนที่เหมาะสม สำหรับกรมชลประทาน 10 พฤษภาคม 2556
หัวข้อในการประชุม • 1. อธิบายวิธีและขั้นตอนการวิเคราะห์ • 2. แสดงผลวิเคราะห์อัตรากำลังคนที่เหมาะสมในปัจจุบัน • 3. แนวทางการจัดสรรกำลังคนของพนักงานราชการ 3,026 อัตรา
วิธีวิเคราะห์กำลังคน ความละเอียด/ ความแม่นยำ มาก Activity based analysis Ratio benchmarking* น้อย เร็ว นาน เวลาที่ใช้ในการวิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูล
ส่วนที่ 1 คำอธิบายการวิเคราะห์กำลังคนด้วยวิธีวิเคราะห์กิจกรรม
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม - งานธุรการ ..... หน่วยงานมีกำลังคนจริง 7 คน (ขรก.1, ลจป.6) (ลจช.4)
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – งานธุรการ (ต่อ) สรุป มีงานที่ควรใช้การจ้างเหมา 3.3 คน
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – งานธุรการ (ต่อ) กำลังคนที่เหมาะสม 11.6-3.3-2.1-0.65-0.4 = 5.2 -> 6
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายวิศวกรรม (คป.) พิจารณาการกระจายตัวของงานตามภารกิจหลักต่างๆ
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายวิศวกรรม (คป.) • เหลือกำลังคนที่เหมาะสม 14.7-6.4 = 8.3 -> 9 • กำลังคนจริงมี 10 (ขรก.4, พรก.2, ลจป.4) (ลจช.9)
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายส่งน้ำฯ (คป.) งานที่ควรจ้างเหมา : -ถางป่า ตัดหญ้า -ซ่อมอุดโพรง หลุมบ่อบริเวณคันคลอง -ทำความสะอาดแผ่นระดับน้ำ -อัดจารบีเครื่องกว้านบานระบาย -เคาะสนิม ทาสีกันสนิมเครื่องกว้านบานระบาย
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายส่งน้ำฯ (คบ.) งานที่ควรจ้างเหมา : -งานบำรุงรักษาหัวงานและที่ทำการ -งานบำรุงรักษาคลองส่งน้ำสายใหญ่ (1คน/2กม.), สายซอย (1คน/3กม.) -การดูแลรักษาความปลอดภัยและทรัพย์สินของทางราชการ -ควบคุมติดตามและตรวจสอบการก่อสร้าง (ให้ max. 1คน ที่เหลือใช้การจ้างเหมา)
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายช่างกล (คบ.) • แต่ละภารกิจหลัก มีรายละเอียดกิจกรรมย่อยและเวลามาตรฐาน
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายช่างกล (คบ.) • แต่ละภารกิจหลัก มีรายละเอียดกิจกรรมย่อยและเวลามาตรฐาน
ตัวอย่างการวิเคราะห์กิจกรรม – ฝ่ายช่างกล (คบ.)
ข้อสังเกต งาน รปภ./ยาม บางคบ./คป. ใช้การจ้างเหมาภายนอก (องค์การทหารผ่านศึก) บางแห่ง ใช้พนักงานราชการ, ลูกจ้างประจำ แต่ละหน่วยงาน ควรมีการทบทวนและกำหนดมาตรฐาน (standardize) ว่ากิจกรรมใด ควรใช้การจ้างเหมาภายนอก กิจกรรมใดควรใช้บุคลากรของรัฐ ขณะนี้พบว่าบางหน่วยงานของ คบ./คป. มี ขรก.เพียง 1 คน ที่เหลือเป็น ลจช. ทั้งหมด มีความเสี่ยงด้านความต่อเนื่องในการบริหารงาน หาก ขรก. ผู้นั้นเกษียณไป ซึ่งควรจะต้องมีการวางแผนกำลังคน เพื่อสร้างความต่อเนื่องในการบริหารงาน ผู้บังคับบัญชา ควรจะได้ทบทวนไฟล์ปริมาณงานที่วิเคราะห์แล้ว เพื่อให้เห็นการกระจุกและการกระจายตัวของกำลังคนในแต่ละภารกิจ/กิจกรรม เพื่อปรับปรุงวิธีการทำงานในอนาคต จากการวิเคราะห์ พบว่าหลายหน่วยงานมีการกระจุกตัวของกำลังคนในบางกิจกรรมมากผิดปกติ
ส่วนที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์กำลังคนด้วยวิธีวิเคราะห์กิจกรรม
กำลังคนที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มที่รายงานตรงต่ออธิบดีกำลังคนที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มที่รายงานตรงต่ออธิบดี Productivity/ ผลิตภาพกำลังคน 99% 102% 104% 100% 133%
กำลังคนที่เหมาะสม สำหรับสายบริหาร Productivity/ ผลิตภาพกำลังคน 141% 109% 96% 291 279 109% 99% 98% 93% 135% ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักกฏหมายและที่ดิน
กำลังคนที่เหมาะสมสำหรับสายวิชาการ (ไม่รวมสำนักเครื่องจักรกล) Productivity/ ผลิตภาพกำลังคน 116% 141% 100% 94% 98%
กำลังคนที่เหมาะสมสำหรับสายก่อสร้างกำลังคนที่เหมาะสมสำหรับสายก่อสร้าง Productivity/ ผลิตภาพกำลังคน จำนวนคน สายก่อสร้าง กำลังคนจริงทั้งสิ้น 2,345 คน กำลังคนที่วิเคราะห์ 2,730 คน ต้องพิจารณาเพิ่ม 385 คน 116% 121% 104%
กำลังคนที่เหมาะสมสำหรับสายบำรุงรักษา (ไม่รวมสำนักชลประทาน) จำนวนคน Productivity/ ผลิตภาพกำลังคน สายบำรุงรักษา กำลังคนจริงทั้งสิ้น 1,331 คน กำลังคนทิ่วิเคราะห์ 1,092 คน ต้องพิจารณา ปรับลด 239 คน 82% 64% 111%
จำนวนหน่วยงานและกำลังคนที่วิเคราะห์จำนวนหน่วยงานและกำลังคนที่วิเคราะห์
สรุปกำลังคนสำนักชลประทาน 1-17 Productivity/ ผลิตภาพกำลังคน กำลังคนจริง : 15,166 คน กำลังคนวิเคราะห์ : 11,658 คน ต้องพิจารณาปรับลด -3,508 คน 71% 84% 79% 93%
เปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนที่วิเคราะห์ได้เปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนที่วิเคราะห์ได้ จำนวนคน หมายเหตุ : กำลังคนที่วิเคราะห์ได้ของ สชป. 9-13 เป็น 47% ของกำลังคน สชป. ทั้งหมด
เปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์ได้ของแต่ละหน่วยงานสชป.1-17 : ส่วนกลาง จำนวนคน กำลังคนจริง : 2,129 คน กำลังคนวิเคราะห์ : 1,972 คน ต้องพิจารณาปรับลด -157 คน ข้อสังเกตุเพิ่มเติม : สชป. 14 : ส่วนวิศวกรรมบริหาร ใช้สัดส่วนมากจากข้อมูลการวิเคราะห์ สชป. 16 : สวนเครื่องจักรกลใช้กำลังคนในฝ่ายปฏิบัติการเครื่องจักรกลงานดินมาก
สัดส่วนกำลังคนก่อนและหลังวิเคราะห์สชป 1-17 ส่วนกลาง หลังวิเคราะห์ ปัจจุบัน
โครงการชลประทานจังหวัดโครงการชลประทานจังหวัด
เปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์โครงการชลประทานจังหวัดเปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์โครงการชลประทานจังหวัด จำนวนคน กำแพงเพชร ตาก พัทลุง สกลนคร สงขลา ร้อยเอ็ด นครราชสีมา เชียงราย อุตรดิตถ์ พิษณุโลก หมายเหตุ : จากกราฟข้างต้น ค่าเฉลี่ยของกำลังคนที่วิเคราะห์ได้เท่ากับ 46 คนต่อโครงการ ข้อสังเกตเพิ่มเติม : สชป.2 แพร่ และ สชป.16 ภูเก็ต : สัดส่วนของช่างกลสูง
เปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์แต่ละฝ่ายโครงการชลประทานจังหวัดเปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์แต่ละฝ่ายโครงการชลประทานจังหวัด จำนวนคน กำลังคนปัจจุบัน : 4,480 คน กำลังคนวิเคราะห์ : 3,559 คน ต้องพิจารณาปรับลด -921 คน ส่วนใหญ่เป็น พนักงานพิมพ์ ยาม/รปภ. พนักงานขับรถ พนักงานทั่วไป
สัดส่วนกำลังคนก่อนและหลังวิเคราะห์โครงการชลประทานจังหวัดสัดส่วนกำลังคนก่อนและหลังวิเคราะห์โครงการชลประทานจังหวัด หลังวิเคราะห์ ปัจจุบัน
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา
กำลังคนที่เหมาะสม จำนวนคน พลายชุมพล เพชรบุรี หนองหวาย สุโขทัย มหาราช นครนายก ชัณสูตร ปราณบุรี แม่ยม ลำปาว หมายเหตุ : จากกราฟข้างต้น ค่าเฉลี่ยของกำลังคนที่วิเคราะห์ได้เท่ากับ 67 คนต่อโครงการ
เปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์แต่ละฝ่ายโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเปรียบเทียบกำลังคนจริงกับกำลังคนวิเคราะห์แต่ละฝ่ายโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา จำนวนคน ส่วนใหญ่เป็น พนักงานพิมพ์ ยาม/รปภ. คนสวน พนักงานขับรถ พนักงานทั่วไป พนักงานรับโทรศัพท์ พนักงานบริการเอกสารทั่วไป พนักงานสถานที่ ช่างฝีมือสนาม กำลังคนปัจจุบัน : 8,452 คน กำลังคนวิเคราะห์ : 6,039คน ต้องพิจารณาปรับลด -2,413 คน
สัดส่วนกำลังคนก่อนและหลังวิเคราะห์โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสัดส่วนกำลังคนก่อนและหลังวิเคราะห์โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ปัจจุบัน หลังวิเคราะห์
ศูนย์ฯ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ศูนย์ฯ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ รอข้อมูล
ส่วนที่ 3 แนวทางการจัดสรร พนักงานราชการ 3,026 อัตรา
แนวทางการจัดสรรพนักงานราชการ 3,026 อัตรา ทางเลือกที่ 1 : ไม่มีการปรับลดกำลังคนส่วนเกิน แต่ปรับเพิ่มกำลังคนสำหรับหน่วยงานที่ควรได้กำลังเพิ่มจากการวิเคราะห์กิจกรรม ทางเลือกที่ 2 : กำลังคนกลุ่มงานก่อสร้างของ สพก. ในบางส่วนที่ขาดแคลนต้องใช้การจ้างเหมาภายนอก ทางเลือกที่ 3 : สคก. ไม่เพิ่มกำลังคน 194 คนในบางหน่วยงานที่ขาด แต่ใช้การหมุนเวียนงานหรือเกลี่ยกำลังคนภายใน สคก. เอง
แนวทางการจัดสรรพนักงานราชการ 3,026 อัตรา
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับกลุ่มที่รายงานตรงต่ออธิบดีโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกินการกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับกลุ่มที่รายงานตรงต่ออธิบดีโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน จำนวนคน ได้รับจัดสรร 4 อัตรา
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายบริหารโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกินการกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายบริหารโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายบริหารโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกินการกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายบริหารโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน จำนวนคน ได้รับจัดสรร 138 อัตรา
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายวิชาการโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกินการกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายวิชาการโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายวิชาการโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกินการกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายวิชาการโดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน จำนวนคน ได้รับจัดสรร 101 อัตรา หมายเหตุ : 1) ไม่ได้แสดงสำนักเครื่องจักร ซึ่งมีกำลังคนจริง 4949, จำนวน พรก.ที่ได้รับครั้งนี้ =0 2) สำนักเครื่องจักรกล มีหน่วยงานที่ต้องการคนเพิ่ม 194 คน ต้องใช้การหมุนเวียนงานหรือเกลี่ยกำลังคนภายใน สคก. เอง
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายบำรุงรักษา (ไม่รวม สชป.1-17)โดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน
การกระจายกำลังคนเพิ่มเติมให้กับสายบำรุงรักษา (ไม่รวม สชป.1-17) โดยไม่มีการปรับลดในหน่วยงานที่กำลังคนเกิน จำนวนคน ได้รับจัดสรร 152 อัตรา