370 likes | 695 Views
- ระเบียบ มท. ว่าด้วยà¸à¸²à¸£à¸ˆà¸±à¸”ทำà¹à¸œà¸™à¸žà¸±à¸’นา ขà¸à¸‡ à¸à¸›à¸—. พ.ศ. 2548 ข้ภ5 ให้ ป.มท. มีà¸à¸³à¸™à¸²à¸ˆà¸à¸³à¸«à¸™à¸”หลัà¸à¹€à¸à¸“ฑ์à¹à¸¥à¸°à¸§à¸´à¸˜à¸µà¸›à¸à¸´à¸šà¸±à¸•à¸´ เพื่à¸à¸”ำเนินà¸à¸²à¸£à¹ƒà¸«à¹‰à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹„ปตามระเบียบฯ ข้ภ6 à¸à¸²à¸£à¸ˆà¸±à¸”ทำà¹à¸œà¸™à¸žà¸±à¸’นาขà¸à¸‡ à¸à¸›à¸—. ต้à¸à¸‡à¸ªà¸à¸”คล้à¸à¸‡à¸à¸±à¸š ระเบียบว่าด้วย à¸à¸²à¸£à¸›à¸£à¸°à¸ªà¸²à¸™à¸à¸²à¸£à¸ˆà¸±à¸”ทำà¹à¸œà¸™à¸žà¸±à¸’นา
E N D
- ระเบียบ มท. ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนา ของ อปท. พ.ศ. 2548 ข้อ 5 ให้ ป.มท. มีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบฯ ข้อ 6 การจัดทำแผนพัฒนาของ อปท. ต้องสอดคล้องกับ ระเบียบว่าด้วย การประสานการจัดทำแผนพัฒนา จังหวัดของ อปท.
- ระเบียบตามข้อ 6 ยังไม่มี - ป.มท. จึงกำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำ และ ประสานแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555 – 2557) ของ อปท.
แนวทางและหลักเกณฑ์ (ปี 2555 – 2557 ) - กำหนดห้วงเวลาการจัดทำและประสานแผนสามปี ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด และแผนชุมชน - ตามปฏิทิน ดังนี้
ปฏิทินการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555- 2557)ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมายเหตุ 1. อปท. หมายถึง อบจ. เทศบาล และเมืองพัทยา 2. การดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 (1) เป็นการทำความตกลงระหว่าง อปท.ด้วยกันเองอาจมาจากการประชุมหารือร่วมกัน หรือการทำหนังสือเพื่อแสดงถึงการตกลงร่วมกัน เป็นต้น
เกณฑ์การพิจารณาเพื่อจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2555 – 2557) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1.1 งานด้านการคมนาคมและการขนส่ง - นำข้อมูลสภาพเส้นทางคมนาคมทั้งทางบกและทางน้ำในพื้น ที่มาประกอบการวางแผน - ถนนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรดำเนินการลงทะเบียน ทางหลวงท้องถิ่นให้เป็นปัจจุบันเพื่อมีข้อมูลทางหลวง ท้องถิ่นโดยระบุพิกัดที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ - กำหนดไว้เป็นแผนงาน/โครงการในแผนพัฒนาสามปี
1.2 งานด้านสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ - ให้สำรวจข้อมูลแหล่งน้ำโดยระบุพิกัดที่ตั้งทางภูมิศาสตร์สภาพ - แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร อุปโภค บริโภค - วางแผนบำรุงรักษาหรือซ่อมแซมในแผนพัฒนาสามปี - การระบุที่ตั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์ - เพื่อป้องกันการดำเนินการในพื้นที่ซ้ำซ้อน - เตรียมความพร้อมในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานภายนอก 1.3 งานด้านการผังเมือง และการควบคุมอาหาร - ควรนำผังเมือง/ผังชุมชนมาเป็นข้อมูลประกอบ
2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต 2.1งานด้านการส่งเสริมอาชีพ - ควรให้ความสำคัญแก่กลุ่มแรงงานนอกระบบ - ให้สามารถมีรายได้ - ส่งเสริมให้เกิดอาชีพ - ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการมีงานทำ
2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต 2.2 งานด้านสวัสดิการสังคม - การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ ให้ได้รับเบี้ยยังชีพในปีต่อๆ ไปอย่างทั่วถึง โดยมีการจัดทำฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน - การส่งเสริมและพัฒนาผู้พิการในท้องถิ่น ควรให้ความสำคัญในการจ่ายเงินเบี้ยความพิการอย่างครอบคลุมทั่วถึง
- การส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นให้ความ สำคัญกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อาหารเสริม (นม) อาหาร กลางวัน เพื่อเป็นข้อมูลกำหนดไว้ในแผนพัฒนาสามปี - การส่งเสริมด้านที่พักอาศัยให้แก่ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากจน ให้มีที่อยู่อาศัย
2.3 งานด้านการศึกษา - ให้ความสำคัญกับการศึกษาในระบบและนอกระบบ - โดยการส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ชุมชน และ การศึกษา ตามอัธยาศัย
3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบ เรียบร้อย 3.1 งานด้านการส่งเสริมประชาธิปไตย - ภาคพลเมือง - พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน - สร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาชุมชน 3.2 งานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - ข้อมูลการเกิดสาธารณภัยในท้องถิ่น - มาวิเคราะห์หาแนวทางป้องกัน - หามาตรการเชิงป้องกัน - กำหนดเป็นแผนงานไว้ในแผนพัฒนาสามปี
3.3 งานด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย - ให้สำรวจจุดที่มักเกิดเหตุร้าย - ภัยอันตรายจากกลุ่มมิจฉาชีพ - หามาตรการป้องกัน
4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการ ท่องเที่ยว 4.1 งานด้านการส่งเสริมการลงทุน - ส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ - มุ่งเน้นให้เกิดการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4.2 งานด้านการพาณิชยกรรม - สำรวจจุดหาบเร่แผงลอย - จุดผ่อนปรนเพิ่มขึ้นได้อีกหรือไม่
4.3 งานด้านการท่องเที่ยว - ควรส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ สภาพแวดล้อม - วิถีชีวิตอันดีงามของประชาชนในท้องถิ่น
5. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม - งานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - ควรเป็นการร่วมมือกันดำเนินการระหว่างองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในเขตจังหวัด
6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น - ส่งเสริมการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น - โดยการสำรวจข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งหมด - องค์ความรู้เผยแพร่ให้แก่คนในท้องถิ่น
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินค่าตอบแทน นายก อบต. รองนายก อบต. ประธาน อบต. รองประธานสภา อบต. สมาชิก อบต. เลขานุการนายก อบต. และเลขานุการสภา อบต. (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 - ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป
บัญชีอัตราเงินค่าตอบแทน (เดิม)
บัญชีอัตราเงินค่าตอบแทน (เดิม)
บัญชีอัตราเงินค่าตอบแทน (ใหม่)
บัญชีอัตราเงินค่าตอบแทน (ใหม่)
1. ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบันที่ เปลี่ยนแปลงไป 2. มีการกระจายภารกิจให้ อปท. รับผิดชอบ เพิ่มขึ้น จากเดิม 3. เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น สาระสำคัญการปรับปรุงอัตราค่าตอบแทน
4. เป็นการปรับโครงสร้างค่าตอบแทน อบต. ให้เป็น มาตรฐานเดียวกันกับเทศบาล/อบจ. ใช้ค่าตอบแทน รายเดือนของนายกเป็นหลัก รวมตำแหน่งอื่นๆ ลดหลั่นกันลงไป 5. ปรับเพิ่มค่าตอบแทน อบต. ให้ใกล้เคียงกับเทศบาล สาระสำคัญการปรับปรุงอัตราค่าตอบแทน (ต่อ)
6. ในระยะแรกการปรับโครงสร้าง จะทำให้ตำแหน่ง อื่นๆ ปรับเพิ่มค่าตอบแทนเพียงเล็กน้อย ในอนาคต จะเพิ่มสูงขึ้น 7. ค่าตอบแทนเป็นเหมือนเป็นสินน้ำใจให้แก่ผู้อาสา สมัครเข้ามาทำงานพัฒนาท้องถิ่น สาระสำคัญการปรับปรุงอัตราค่าตอบแทน (ต่อ)