460 likes | 977 Views
รายงานความก้าวหน้า. ผลการศึกษาภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยง ผลการศึกษาภาระโรคของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 ผลการศึกษาภาระจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547 ความก้าวหน้าของโครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทย. ผลการศึกษา ภาระโรคของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547.
E N D
รายงานความก้าวหน้า • ผลการศึกษาภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยง • ผลการศึกษาภาระโรคของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 • ผลการศึกษาภาระจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547 • ความก้าวหน้าของโครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทย
ผลการศึกษาภาระโรคของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547
DALY lost by 3 major categories Total = 9.9 Million DALYs (Males: 5.7 , Female: 4.2) Group I Infections, maternal, perinatal and nutritional conditions = 2.1 Million DALYs Group II Non-communicable diseases = 6.5 Million DALYs Group III Injuries = 1.3 Million DALYs
Top ten: Deaths % of Total 63.90 56.04
Top ten: YLLs % of Total 63.25 53.36
Top ten: YLDs % of Total 63.26 67.26
Top ten: DALYs % of Total 52.61 42.83
Demographic 1990 2000 2005 2020
Change of Ranks: 1999 2004 • DALY in Males • Alcohol dependence/harmful use: จากอันดับที่ 11 เป็น 4 • Depression: จากอันดับที่ 15 เป็น 10 • Homicide and violence: จากอันดับที่ 8 เป็น 15 • Suicides: จากอันดับที่ 9 เป็น 16 • DALY in Female • Ischaemic HD: จากอันดับที่ 9 เป็น 5 • Schizophrenia: จากอันดับ 17 เป็น 11
ผลการศึกษาภาระจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547
ร้อยละของภาระโรคที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่ศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับภาระโรครวมทั้งหมด ในปี พ.ศ.2547 ลำดับปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาระโรคจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย แอลกอฮอล์ บุหรี่ ความดันเลือดสูง การไม่สวมหมวกและคาดเข็มขัดนิรภัย ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง การบริโภคผักและผลไม้น้อย การขาดการออกกำลังกาย การใช้สารเสพติด มลพิษทางอากาศ การขาดน้ำสะอาด การสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม และภาวะทุพโภชนาการ
ความก้าวหน้าโครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทยความก้าวหน้าโครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทย
---พ.ศ.2549--- ---------------------------พ.ศ.2550------------------------- --------------พ.ศ.2551-------------- มี.ค. – ธ.ค. ม.ค.- มี.ค. เม.ย.- มิ.ย. ก.ค.- ก.ย. ต.ค.- ธ.ค. ม.ค.- มี.ค. เม.ย.- มิ.ย. ก.ค.- ส.ค. โครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทยมี.ค.2549 – ส.ค.2551 ทบทวนวรรณกรรม Pre-test นครปฐม 6-8 ม.ค. กทม. 25 มี.ค. Sample preparation • Filed work • อบรบ interviewers • field work • กทม. -> เม.ย. • ภาคใต้ -> พ.ค. • ภาคอีสาน -> พ.ค. • ภาคเหนือ -> มิ.ย. • ภาคกลาง -> ก.ค. • สรุปผล Matching Clinical conditions and Health state Systematic review, ประชุมผู้เชี่ยวชาญ 22 กลุ่มโรค, ปรับแก้ค่า DW, ส่งผลการศึกษา
Set up in 1987 by a multidisciplinary group of researchers concerned with EVALUATION in health and health care Clinicians Health economists Others (sociology, psychology …) Founder members Finland Netherlands (Norway) Sweden UK The EuroQoL Group
Anxiety / Depression Mobility Health state Pain / Discomfort Self-Care Usual Activity What is EQ-5D ? • A generic, single index • measure of health status • Based on 5 dimensions • Mobility • Self-Care • Usual Activity • Pain / Discomfort • Anxiety / Depression • Defines a total of 35 • = 243 health states
Valuation method(s) • EuroQoL Group standard • Visual analogue scale rating using a vertical 20cm scale • Range 0 – 100 corresponding to “worst imaginable” and “best imaginable” health • Individual experimentation • Time Trade-Off (York MVH Project) • Ranking • Paired comparisons • Standard Gamble
VAS rating of EQ-5D health states Health state E Health state A Health state F 1 1 1 1 1 Health state C 3 3 3 3 3 Health state H Health state D
ตัวอย่าง TTO Board สำหรับสุขภาพที่ดีกว่าเสียชีวิต ช่อง ก* จำนวนปี สุขภาพ ก ช่อง ข สุขภาพ ข จำนวนปี * ในช่อง ก มีคำว่า “เสียชีวิต” ติดอยู่
BOD web site • สามารถเปิด web site ด้วย URL คือ www.thaibod.orgหรือ link จาก web site ของ IHPP โดยพิมพ์www.ihpp.thaigov.netเลือกResearch Projects > โครงการศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประเทศไทย พ.ศ. 2547 • ได้มีการปรับปรุงเวปไซต์ใหม่ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 • ปรับปรุง layout ของแต่ละหน้าใหม่ • หน้าแรกของ web site ได้เพิ่มส่วนการนำเสนอ (presentation) เพื่อให้ผู้เข้าชม web site ได้ดูผลการศึกษาเบื้องต้นทั้งส่วนของภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยง • เพิ่มระบบเพื่อให้คณะทำงานฯ สามารถ login เพื่อส่งรายงานต่างๆ แบบ online ได้
วาระที่ 3แผนการดำเนินงานต่อไปของโครงการพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย
Cause of death Violence Cancer Sub-national BOD Risk burden แผนการดำเนินงานต่อไปของโครงการฯ : ปีที่ 2 DW Consultative meeting Seminar on data system (4-5 April07) Data coordination Inter. Network Life Table 2004 YLL 2004 BOD method. improvement Violence :paper writing Data collection Sum. paper on the stand. method Set up a standard protocol and network with regional partners • Report risk burden by public health region • Report DALY by public health region • Report YLL by province, sex and age group HALE HALE Series of consultative meeting with partners Revise with complete BOD Health state valuation study in Thailand Converting disease stages to a generic measure BOD projection Connection with Prof.Paul Kind, Center for Health Economics, University of York Connection with an expert from World Health Organization 2nd Year (2006-2007) Mar Apr May Jun July Aug Sep Not started commencing ongoing complete
Discussion on Data Sources • รายการโรคที่ใช้ incidence จากการศึกษา BOD ปี 2542 • รายการโรคที่ใช้แหล่งข้อมูลของ incidence จากแหล่งเดียวกับการศึกษาปี 2542 แต่ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันมากขึ้น • รายการโรคที่เปลี่ยนแหล่งข้อมูลไปจากเดิมที่ศึกษาในปี 2542
แหล่งข้อมูลเหมือนปีการศึกษาในปี 2542 *อยู่ระหว่างรอผลการศึกษา
แหล่งข้อมูลเดียวกับปี 2542 แต่ update ปีที่ศึกษา *อยู่ระหว่างรอผลการศึกษา
อภิปรายผลข้อมูล YLD • Sexually transmitted diseases: ใช้ข้อมูลจากรายงาน 506 ซึ่งยังคงมีข้อจำกัดเรื่อง under-reported • Glaucoma and Other Vision Losses: อยู่ระหว่างรอผลจาก National Survey on Blindness and Low vision in Thailand 2006 จึงใช้ค่า prevalence เดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 • Dementia: ยังคงประมาณค่า YLD โดยใช้ prevalence เดิมที่ใช้ในการศึกษา BOD เมื่อปี 2542 • Parkinson’s Disease: ใช้ข้อมูลจากการศึกษาในต่างประเทศ เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับโรคนี้ในประเทศไทย • Nephritis and Nephrosis: ใช้ข้อมูลรวมที่ไม่มีการจำแนกตามเพศและอายุ • Spina Bifida and Congenital heart Disease:ใช้ข้อมูลจากการศึกษาในต่างประเทศ เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
อภิปรายผลข้อมูล YLD • Cleft Palate & Lip and Down Syndrome: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน • Cancer:รอผลจากทีมทะเบียนมะเร็ง • Otitis media: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและการศึกษาในกลุ่มอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคนี้ • Epilepsy: ข้อมูลที่ใช้มีข้อจำกัดในเรื่องของ จำนวนประชากรที่น้อยกว่า และทำการศึกษาในหนึ่งจังหวัด ซึ่งอาจไม่เป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมดได้ • Asthma: ข้อมูลมาจากหลายแหล่งการศึกษา ซึ่งทำการศึกษาในกลุ่มอายุที่แตกต่างกัน • Osteoarthritis: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
อภิปรายผลข้อมูล YLD • Alcohol dependence /harmful use:ข้อมูลที่ใช้มีตัวเลขที่สูงขึ้นมาก เมื่อเปรียบเทียบกับตัวเลขที่ได้จากการศึกษา BOD ปี 2542 • Drug dependence /harmful use:ข้อมูลที่ใช้มีตัวเลขที่ต่ำลง เมื่อเปรียบเทียบกับตัวเลขที่ได้จากการศึกษา BOD ปี 2542 • COPD: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากแหล่งข้อมูลจากการสำรวจที่เป็นปัจจุบัน (BRFSS) เป็นการสัมภาษณ์ประวัติการเป็นโรคของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ • Hepatitis: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 แต่ได้ทำการปรับค่าตัวแปรต่างๆให้มีความเป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ดังนั้นข้อมูล YLD ของ Hepatitis นี้จึงมีความน่าเชื่อถือเพียงพอ
แผนการดำเนินการศึกษาภาระโรคระดับ sub-national • Sub-national Bangkok + 12 public health area • Data sources: • NHESIII by public health area • Mortality data by province, region • 506 report by province, region • HWS by region • TBRFSS by province • IS Bangkok / Non-Bangkok • รายงานการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการ ครั้งที่ 5 (พ.ศ.2546) ภาค, เมือง/ชนบท • รายงานสถานภาพการใช้สารเสพติด พ.ศ.2546 กทม. + 4 ภาค