650 likes | 1.14k Views
PMQA Public Management Quality Award. ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้จัดการส่วน Center of Excellence สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. PMQA. พัฒนาคน พัฒนาไทย สู่การแข่งขันสากล. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. PMQA. Square wheels. 0. PMQA. ORGANISATION
E N D
PMQA Public Management Quality Award ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้จัดการส่วน Center of Excellence สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ PMQA พัฒนาคน พัฒนาไทย สู่การแข่งขันสากล
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ PMQA Square wheels
0 PMQA • ORGANISATION • TQM Concept • TQA/PMQA • PMQA Road Map
1 PMQA ORGANISATION
การเปรียบเทียบ ร่างกายองค์การ กับ ร่างกายมนุษย์ PMQA Team Core Values Communication Motivation
Value Chain : Michael E. Porter PMQA Firm Infrastructure ( Fin. Plan..) Human Resource Management SUPPORT ACTIVITIES Technology Development Procurement MARGIN Inbound Logistics Operations (Manufacturing) Outbound Logistics Marketing and Sales After Sale Service PRIMARY ACTIVITIES
Fusion Management PMQA Quality 0f Management Management Frameworks 7S MBNQA TQAPMQA TQM หลักธรรมต่างๆ 5S BM BSC KM SS TPMCRM Six Sigma ISO HA HPH HNQA HACCP Quality Systems & Standards Management & Improvement Tools Management 0f Quality
2 PMQA TQM Concept
TQM Model : Dr. Kano’s house PMQA Stakeholder (Customer) Satisfaction Goals / Strategies Concepts Vehicles Techniques Motivation Approach Intrinsic Technology General Education/Political Stability
TQM : Concept/ Principles PMQA • ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร • บริหารด้วยข้อมูลจริง • ความยุติธรรมในการประเมินผล และแบ่งปันประโยชน์ • แก้ปัญหาที่สาเหตุ เน้นการป้องกัน • ใช้กรรมวิธีทางสถิติ • การจ้างงานตลอดชีพ • แก้ไขเรื่องที่สำคัญก่อน • ความกลมเกลียวพนักงานกับผู้บริหาร • บริหารด้วยวงจร P D C A • สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า • สร้างระบบมาตรฐานที่มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • มีจริยธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม • ความพึงพอใจของพนักงาน • ให้การศึกษาพัฒนาบุคลากรตลอดเวลา • ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน • ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ • กระบวนการถัดไปคือลูกค้า
TQM : The Vehicles PMQA • ระบบบริหารแบบ เข็มมุ่ง • ระบบบริหารกระบวนการประจำวัน • ระบบบริหารโครงการแบบคร่อมสายงาน • ระบบบริการแบบกิจกรรมกลุ่มย่อย • ระบบการตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง
TQM : Productivity Improvement Tools & Standards PMQA Thailand Quality Award (TQM & TQA) Strategic Planning KPI & Balanced Scorecard Benchmarking ระดับบริหาร Supply Chain Management Business Process Improvement (BPI) Cross-functional Management ระดับจัดการ TPM PM/SM OEE Six Sigma Design of Experiment (DOE) Statistical Quality Control (SQC) Activity-based Management (ABM) Activity-based Costing (ABC) Cost of Quality (COQ) JIT IE 7 Waste ระดับปฏิบัติการ ISO 9000 / ISO 16949 / HACCP / GMP / ISO 14000 / SA 8000 Problem Solving Waste Assessment 5S / Suggestion Scheme / Visual Control
3 PMQA TQA/PMQA
TQA/PMQA:11 Core Values PMQA การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 1 5 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความคล่องตัว 2 6 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 10 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ขององค์การ และแต่ละบุคคล 3 7 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ 4 8 11
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พศ. 2548 PMQA : Public Management Quality Award PMQA P : ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
HNQA Output spec ตอนที่ 1 MBNQA/ TQA/PMQA TQM Framework การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น พนักงาน ตอนที่ 4 ผลลัพธ์ การนำ ด้านคลินิก ด้านผู้ป่วยและลูกค้า ด้านการเงิน ด้านพนักงานและระบบงาน ด้านประสิทธิผลองค์กร ด้านธรรมาภิบาลและสังคม ด้านสร้างเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ การจัดการสารสนเทศ และความรู้ MBNQA/TQA Model ตอนที่ 3 ตอนที่ 2 ระบบงานสำคัญของ รพ. HA / HPH Process spec โครงสร้างมาตรฐาน TQA/HA/HPH HPHA 2006 กระบวนการดูแลผู้ป่วย ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ โครงสร้างภาพและสิ่งแวดล้อม การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบยา ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย แรกรับ ประเมิน วางแผน ดูแล ให้ข้อมูลและเสริมพลัง วางแผนจำหน่าย/ดูแลต่อเนื่อง
PMQA PMQA หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลของตัวชี้วัดอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • แสดงผลในระดับปัจจุบัน แนวโน้มและเปรียบเทียบกับส่วนราชการหรือองค์กรอื่นที่มีภารกิจคล้ายกัน • ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) • ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ • ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ • ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย • ผลด้านการดำเนินงานอย่าง มีจริย ธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ
PMQA มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลา การให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล PMQA หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
4 PMQA PMQA Road map
PMQA วงจรการพัฒนา 9 ขั้นตอน หาความต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย 1 ปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง 9 2 วัดและประเมินผล การดำเนินงาน ประเมินสภาพ องค์กรในปัจจุบัน 8 3 ปฏิบัติตามแผน ปฎิบัติการ วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว 7 4 6 5 เสริมศักยภาพ ภายในองค์การ วางแผนปฏิบัติ การประจำปี
PMQA 1 หาความต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย
SIPOC Model PMQA ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร 1 Customers สินค้าหรือบริการคืออะไร Outcome 2 3 ความต้องการคืออะไร Outputs กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร 4 Process ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการคืออะไร 5 Inputs ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร 6 Suppliers
SIPOC Model Are We Doing Things Right? (How?) Are We Doing The Right Things? (What?) Input Output Outcome Process PMQA Supplier Performance Measurement Leading indicator Check point Process indicator Efficiency Means วิธีการ Lagging indicator Control point Result indicator Effectiveness End เป้าหมาย
SIPOC Model / Value chain model PMQA supplier 111 Outcome 1 • สินค้า • หรือ • บริการที่ • 1 • Output • Spec1 • Spec2 • Spec3 input 11 ขั้นตอน 1 supplier 112 Outcome 2 supplier 121 input 12 Outcome 3 supplier 131 input 13 ขั้นตอน 2 Outcome 4 ขั้นตอน 3 ขั้นตอน 4 ขั้นตอน 5
PMQA 2 กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง
Organization Change – Depth of Intervention PMQA Deepest We have to recreate the business. Change recreate the total enterprise. Paradigm We have to change the way that we think and act. Change vision, values Cultural Strategic We need to refocus. Change objectives, strategies We just need to do it better. No change to mission,values Operational Shallow
The Strategic Change Flywheel PMQA 20% Change agent A 70% Sitting on the fence B 10% Oppose the new direction C
Common Reasons for Perceived Resistance PMQA Lack of information or awareness Lack of involvement Lack of leadership commitment Outdated rewards and recognition Lack of proof in positive outcomes
Building Awareness and a Sense of Urgency PMQA CEO presentation Benchmarking Stakeholder presentation Newsletters / videos Awareness Customer and employee surveys Publication of key performance indicators Management by walking around
PMQA 3 ประเมินสภาพ องค์กรในปัจจุบัน
ลำดับหมวดของเกณฑ์ PMQA PMQA Category 7 Item 17 Area to Address 30 Subpart 90 Element 180
หมวด CATEGORY : การประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( Self Assessment ) 1 การนำองค์กร หน่วยงาน Department : หัวข้อ ITEM : ประเด็นที่ควรพิจารณา AREA TO ADDRESS : ประเด็นย่อย SUBPART : a (1) 1.1 ผู้บริหารส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการกำหนดในเรื่องวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว และผลการดำเนินงานที่คาดหวัง รวมทั้งถ่ายทอดให้บุคลากรในส่วนราชการนำไปปฏิบัติ 1 คำถาม Question No. สรุปประเด็นคำถาม : กำหนด ถ่ายทอด ผลักดัน สื่อสาร2ทาง เป้าประสงค์ ระยะสั้น วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าประสงค์ ระยะยาว ผลการดำเนินงาน ที่คาดหวัง คู่ความร่วมมือ และผู้ส่งมอบ พนักงาน โปร่งใสและชัดเจน ระหว่าง ผู้รับบริการกับผู้มีส่วนได้เสีย
คำถามจาก เกณฑ์ PMQA PMQA
วงจรการจัดการ RADAR: ADLI: PDCA PMQA Result R Learning & Integration L&I (Assessment & Review A&R) (C & A : Check & Act) Approach A (P : Plan) Category 1-6 Deployment D (D : Do)
กรอบประเมินเบื้องต้น ADLI PMQA Approach A (Plan) A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan Deployment D (Do) Learning L (Assessment) Integration I (Review) Result R (Output)
ระดับ (Level) คะแนน (Score) กระบวนการ (Approach-Deployment-Learning-Integration) Criteria 1-6 1 0% , 5% • ไม่มีแนวทางอย่างเป็นระบบ; มีข้อมูลหรือสารสนเทศน้อยหรือไม่ชัดเจน (A) • ไม่มีหรือมีการนำแนวทางไปสู่การปฏิบัติเพียงเล็กน้อย (D) • ไม่มีหลักฐานแสดงถึงการกำหนดแนวทางการปรับปรุง; การปรับปรุงเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองปัญหาเฉพาะหน้า % (L) • ไม่มีการมุ่งไปในแนวทางเดียวกันกับองค์กร; แต่ละสายงานปฏิบัติงานโดยอิสระจากกัน (I) A D L I 2 10%, 15%, 20% หรือ 25% • เริ่มมีแนวทางที่เป็นระบบตอบสนองวัตถุประสงค์ขั้นพื้นฐานของข้อกำหนด (A) • เป็นระยะเริ่มต้นของการถ่ายทอด/นำแผน/แนวทางไปสู่สายงานเป็นส่วนใหญ่ (D) • เป็นระยะเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงจากการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปสู่การกำหนดแนวทางในการปรับปรุงที่ทั่วถึง (L) • แนวทางมุ่งไปทิศทางเดียวกับสายงานอื่นๆอันเป็นผลมาจากการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าร่วมกันเป็นหลัก (I) 3 30%, 35%, 40% หรือ 45% • มีแนวทางที่เป็นระบบและได้ผลเพื่อสนองวัตถุประสงค์ขั้นพื้นฐานของข้อกำหนด • มีการถ่ายทอด/นำแผนสู่การปฏิบัติ มีเพียงบางสายงานจะอยู่ในระยะเริ่มต้นเท่านั้น • เริ่มมีแนวทางที่เป็นระบบเพื่อประเมินผลและปรับปรุงกระบวนการหลัก • เริ่มมีแนวทางที่สอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานขององค์กรที่ระบุไว้ในเกณฑ์หมวดอื่นๆ 4 50%, 55%, 60% หรือ 65% • มีการนำระบบมาใช้อย่างได้ผลสนองค่อข้อกำหนดโดยรวม • มีการถ่ายทอด/นำแผนไปสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี แต่มีส่วนน้อยที่ยังคลาดเคลื่อน • มีระบบการประเมินและปรับปรุงกระบวนการโดยใช้ฐานข้อมูลที่เป็นจริง และเกิดความรู้หรือทักษะบางอย่างที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงกระบวนการหลักได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีระบบที่สอดคล้องกันกับความต้องการพื้นฐานขององค์การที่กำหนดไว้ในเกณฑ์ ข้ออื่นๆ 5 70%, 75%, 80% หรือ 85% • มีการนำระบบมาใช้อย่างได้ผลในการตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ต่างๆขององค์การทั้งในสภาพปัจจุบันและตามการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ • มีการกระจายแผนสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี โดยไม่มีข้อบกพร่องที่เด่นชัด • ใช้ระบบการประเมิน ปรับปรุง และการเรียนรู้เป็นเครื่องมือหลักในการบริหารจัดการองค์กร; มีหลักฐานเด่นชัดที่แสดงถึงนวัตกรรมอันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในระดับขององค์กร • มีระบบที่สอดคล้องประสานกันอย่างดีกับความต้องการพื้นฐานขององค์การ ที่กำหนดไว้แล้วในเกณฑ์ข้ออื่นๆ 6 90%, 95% หรือ 100% • มีการนำระบบมาใช้อย่างได้ผลดียิ่งในการตอบสนองวัตถุประสงค์ทุกประการขององค์กรทั้งในปัจจุบันและตามการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ • มีการกระจายแผนสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพในทุกหน่วยขององค์กร • ใช้ระบบการประเมิน ปรับปรุงและการเรียนรู้เป็นเครื่องมือบริหารจัดการทั่วทั้งองค์กร; เกิดนวัตกรรมที่ได้จากการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเห็นได้ชัดทั่วทั้งองค์กร • มีระบบที่สอดคล้องประสานกันอย่างสมบูรณ์กับความต้องการพื้นฐานขององค์การที่มีการกำหนดไว้แล้วในเกณฑ์ข้ออื่นๆ
วงจรการวัดผลลัพธ์ KGTB/GTBK PMQA Key measures K Benchmarks B Category 7 Goals G Trends T
วงจรการวัดผลลัพธ์ KGTB/GTBK T1 T2 T3 50 40 45 40 50 50 45 50 50 45 40 35 50 45 45 45 PMQA Key measures K Goals G Trends T Benchmarks B KRA /Key Result Area : X X Y Z 40 kpi 1 1 40 50 40 50 kpi 2 2 50 40 40 35 kpi 3 3 35 45 35 4 45 50 45 45 kpi 4
Criteria 7 G T B K
PMQA 4 5 วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว วางแผนปฏิบัติ การประจำปี
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ PMQA 1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 2 การจัดวางทิศทางขององค์กร 3 การกำหนดแผนกลยุทธ์ 4 การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ 5 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
Internal environment External environment Vision Shared Values Mission Core Competency KPIs KPIs Program KPIs Project KPIs Activity PMQA Past Performance Purpose Organization Objective ยุทธศาสตร์ 4 มิติ KPIs 1 2 3 4 ยุทธวิธี Strategic Goals ขั้นตอนการคิด ทำจากบนลงล่าง ขั้นตอนการทำ ทำจากล่างขึ้นบน
องค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์องค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์ PMQA เปลี่ยนได้ วิสัยทัศน์ ทักษะ แรงจูงใจ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ ทักษะ แรงจูงใจ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ สับสน วิสัยทัศน์ แรงจูงใจ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ กังวล วิสัยทัศน์ ทักษะ ทรัพยากร แผนปฏิบัติการ ทำแล้วเลิก ขัดข้องใจ วิสัยทัศน์ ทักษะ แรงจูงใจ แผนปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ ทักษะ แรงจูงใจ ทรัพยากร เริ่มผิดทาง
Strategy Map Vision / Mission / Core values เป้าหมายระยะ 4 ปี Stakeholder (Customer) 7.1 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิผล 7.2 ผลลัพธ์ด้าน คุณภาพ ด้านประสิทธิผล Results Productivity (Financial) 7.3 ผลลัพธ์ด้าน ประสิทธิภาพ 7.4 ผลลัพธ์ด้าน การพัฒนาองค์กร ด้านคุณภาพ Internal Process System 1.2 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 3.2 ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 4.2 สารสนเทศและ องค์ความรู้ 6.1 กระบวนการ สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการ สนับสนุน ด้านประสิทธิภาพ Learning / Growth Driver 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้และ แรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและ ความพึงพอใจ ด้านการพัฒนาองค์กร 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ลูกค้าและตลาด 4.1 การวัดและ วิเคราะห์ 2.1 การจัดทำ กลยุทธ์ 2. 2 การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ 1.1 การนำองค์กร
ตาราง : Objective Deployment PMQA ระดับองค์กร วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ ระดับหน่วยงาน (กลุ่ม/ฝ่าย แผนก/งาน) 1 C1 วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ ประชาชน สุขภาพดี 2 1 C1 ระดับบุคคล 3 ผู้สูงวัย สุขภาพดี 2 วัตถุประสงค์ ตัววัด ประเด็นกลยุทธ์ 4 3 1 5 C1 4 ผู้สูงวัย ในพื้นที่ 1 สุขภาพดี 2 6 5 3 7 6 4 7 5 6 7
การจำแนกระดับของ แผนงานโครงการ PMQA โครงการระดับ องค์กร 1 โครงการระดับ กลุ่มคร่อมสายงาน 2 โครงการระดับ หน่วยงาน 3
องค์ประกอบของ แผนปฏิบัติการ PMQA 1 Project Management สาระสำคัญของ การทำแผนปฏิบัติการ Action Plan (ดูจาก 2.2 b) 2 Change Management 3 Risk Management 4 Evaluation Plan
ตาราง : Strategy Matrix PMQA x 4 D A x 3 x 2 x x 1 ปัจจัย ภายนอก PEST 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ปัจจัย ภายใน PMQA วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ แผนงาน / โครงการ 5 1 2 3 4 6 7 8 x x x x 1 2 C B x 3 x 4 5
PMQA 6 7 เสริมศักยภาพ ภายในองค์การ ปฏิบัติตามแผน ปฎิบัติการ