700 likes | 1.35k Views
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กรมทางหลวงชนบท. PMQA. 1. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ. 2. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555). ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3. เป้าประสงค์. ตัวชี้วัด. 3. PMQA Model. TQM : Framework.
E N D
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กรมทางหลวงชนบท PMQA
1. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ 2
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 3
PMQA Model TQM : Framework P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด ........” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7
2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 8
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2552 2549 2550 2551 2552 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ 9
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 • เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 4 5 • เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3. ตัวชี้วัดในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 11
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้กรมฯ ปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการที่ร่วมดำเนินการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากจังหวัดใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว สำหรับกรมที่ผ่านเกณฑ์ฯอย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย 2553 12
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 • มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้กรมปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ กรมจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ตามยังเปิดโอกาสสำหรับกรมที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 • กำหนดน้ำหนักเพื่อการ“ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากกรมใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว • กรมควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีแม้ในหมวดที่กรมได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Successful Level
ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 ปี 2552 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ: หมวด 2,3 และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ: หมวด 1,4 และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA • ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดภาคบังคับ: หมวด 5,6) • แผนพัฒนาองค์การปี 52(30 ม.ค.52) • รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา • องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 53 • (หมวดภาคบังคับ: หมวด 2,3)
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 15 ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้ 16
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานจำนวน 2 หมวด ซึ่งแต่ละหมวดแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 17
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ (หมวด 2 และหมวด 3) อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.1 -2.7 18
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3 19
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด • กรมฯที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แล้ว จะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย โดยจะใช้ผลการตรวจประเมินปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • กรมฯที่ ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับ • พื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7.1 และ 7.2 (ใช้แบบฟอร์มในคู่มือ ปี 52) 20
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 11.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.7 21
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 15.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 22
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 1 23
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน สำหรับหมวดที่เลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ในแบบฟอร์มที่ 3 : แบบฟอร์มรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ ทั้งนี้ ให้จังหวัดใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัดส่งให้เป็นเครื่องมือในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.1 – 2.7 24
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด เป็นการจัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด โดยใช้แนวทางการจัดทำของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวมทั้ง ให้กรมคัดเลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์หรือกำหนดตัวชี้วัดได้เอง รายละเอียดเงื่อนไขปรากฏตามภาคผนวก ข กรณีที่กรมใดยังไม่ผ่านเกณฑ์ฯ บางข้อที่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4.1 และ 4.2 25
4. วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 26
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 27
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 28
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • กรมดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่กรมได้จัดส่งมายังสำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2552 (ตามแบบฟอร์มที่ 7.1 และ 7.2 ในคู่มือตัวชี้วัดฯ ปี 2552) เพื่อให้แผนดังกล่าวบรรลุเป้าหมายที่กำหนดทั้งในแง่ความครบถ้วนของกระบวนการและความสำเร็จของผลลัพธ์ • สำนักงาน ก.พ.ร. มีระบบสนับสนุน ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 ขั้นตอนที่ 1 คลินิกให้คำปรึกษาแนะนำรายภาค สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์ www.opdc.go.th 29
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. สำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งผลการประเมินให้กรมทราบภายใน 30 วันทำการ นับแต่วันเข้าตรวจประเมิน (Site Visit) 2. กรณีไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 ให้ดำเนินการปรับปรุงองค์กรในประเด็นดังกล่าวให้ครบถ้วนสมบูรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. กรมจัดทำแผนพัฒนาองค์การเพิ่มเติมสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 และเสนอให้ผู้บริหารให้ความเห็นชอบโดยไม่ต้องส่งมายังสำนักงาน ก.พ.ร 3. กรม ดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่ได้จัดทำเพื่อให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (FL) ให้ครบถ้วนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ขั้นตอนที่ 2 30
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.1 การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (นำลักษณะสำคัญขององค์กรที่ได้จัดทำตามตัวชี้วัดฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 มาทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป) 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับที่กรม ต้องตอบคำถาม โดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ จึงจะถือว่าได้ตอบคำถามในข้อนั้น ๆ แล้ว คำถามที่ ไม่มี เครื่องหมาย (#) เป็นคำถามที่กรม ต้องตอบคำถาม แต่การตอบคำถามดังกล่าวอาจจะยังไม่มีความสมบูรณ์ก็ได้ ขั้นตอนที่ 3 กรมฯอธิบายบริบทที่สำคัญขององค์การที่เกี่ยวข้องในแต่ละคำถาม โดยใช้วิธีการพรรณาความ ใช้แผนภาพประกอบ หรือใช้ตาราง ตามความเหมาะสมในแต่ละคำถาม แบบฟอร์มที่ 1 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร 31
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • แบบฟอร์มที่ 1: แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญ • ขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 32
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • 3.2 การจัดทำรายงานประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1-7 • สำหรับหมวดที่เลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้กรมฯรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ในแบบฟอร์มที่ 3 : แบบฟอร์มรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • ทั้งนี้ ให้กรมฯ ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัดส่งให้เป็นเครื่องมือในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 แบบฟอร์มที่ 2 : แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองซึ่งประกอบด้วยแบบฟอร์มที่ 2.1 – 2.7 เรียงจากหมวด 1-7 ตามลำดับ แบบฟอร์มที่ 3 : แบบฟอร์มรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 33
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 2:แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ....................... ....................... ....................... ....................... 34
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • 3.3 การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ใช้แนวทางเช่นเดียวกับการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กล่าวคือเป็นแผนรายหมวด และการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยดำเนินการในหมวดที่เหลือ 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรณีจังหวัดยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย แบบฟอร์มที่ 4 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 35
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 4 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 36
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด การรายงานผลรอบ 6 เดือน ให้จังหวัดรายงาน 4. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดนี้ในภาพรวมที่แสดงให้เห็นความคืบหน้า ขั้นตอนที่ 4 2. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการตามแบบฟอร์มคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ (รายงานรวมกับตัวชี้วัดอื่น ๆ) หมายเหตุ : จังหวัดอาจใช้ตัวอย่างการรายงานผลตามภาคผนวก ค ขั้นตอนที่ 5 การตรวจประเมินตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ รอบ 12 เดือน จะเป็นการตรวจสอบการประเมินความสำเร็จที่จังหวัดได้ประเมินตนเองมาว่าตรงตามคะแนนที่ประเมินหรือไม่ 5. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก 37
การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ 39
การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ให้กรมจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ไปยังสำนักบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. • ภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553เอกสารที่จัดส่งประกอบด้วย • แบบฟอร์มที่ 1-5 จำนวน 4 ชุด (เอกสารพร้อมไฟล์ข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น) • โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการประเมินผลในรูปแบบไฟล์ excel(ไฟล์ข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม โดยไม่ต้องจัดพิมพ์มาในรูปของเอกสาร) การส่งมอบงาน 40
5. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 41
การบริหารผลการปฏิบัติงานการบริหารผลการปฏิบัติงาน ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ Public Sector Management Quality Award PMQL เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน Fundamental Level FL
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) “ระดับพื้นฐาน” หมายถึงกระบวนการเริ่มได้ผล • มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) • กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) • องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning) • กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) • ประกอบด้วย 7 หมวดรวม 47 ประเด็น • แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็น เพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ • กรมต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด
การประเมิน หมวด 1-6ADLI Integration I PDCA Alignment Approach A Learning L Result Plan Check/Share/Act Deployment D Do
การประเมิน หมวด 7LeTCLi Level Le Goal Linkage Li KRA KPI Trend T Trend Key Measure Compare C Benchmark
หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร เป้าประสงค์ ทำงานอย่างมีจริยธรรม LD 5,6 LD 1 ค่านิยม Stakeholder โดยยึด หลักโปร่งใส 2waysแต่ละกลุ่ม OP 3,8 LD 6 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ผลการดำเนินการที่คาดหวัง • นโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 1 • สื่อสาร สร้างความเข้าใจ • ติดตามผล สร้างบรรยากาศ LD 2 LD 3 การทำงานมีผลกระทบต่อสังคม ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) LD 7 LD 3 ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ • เชิงรับ-แก้ไข ตัวชี้วัด (5) (หมวด 4.1) ทบทวนผลการดำเนินการ หมวด 2 • เชิงรุกคาดการณ์ • ป้องกัน LD 4 ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ LD 4 ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร LD 4