440 likes | 695 Views
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA). กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550. ตัวชี้วัดระดับกรม มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 16 “ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ”. การประชุมชี้แจงการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 16.
E N D
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550
ตัวชี้วัดระดับกรม มิติที่ 4ตัวชี้วัดที่ 16 “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” การประชุมชี้แจงการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 16 ความเชื่อมโยงของตัวชี้วัด (ระดับหน่วยงาน ระดับกรม)
ตัวชี้วัด หน่วยงานภายใน มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 16 “ระดับความสำเร็จของการส่งเสริม/ให้ความรู้ ด้านการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แก่บุคลากรในหน่วยงาน” การประชุมชี้แจงการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 16
ตัวชี้วัดหน่วยงานภายใน มิติที่ 4ตัวชี้วัดที่ 16 “ระดับความสำเร็จของการส่งเสริม/ให้ความรู้ ด้านการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แก่บุคลากรในหน่วยงาน” ตัวชี้วัดระดับกรม มิติที่ 4ตัวชี้วัดที่ 16 “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ขั้นตอนที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ PMQA แก่บุคลากรในองค์กร(กรม) การประชุมชี้แจงการดำเนินการเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 16 ความเชื่อมโยงของตัวชี้วัด (ระดับหน่วยงาน ระดับกรม)
ประเมินองค์กรและ จัดทำแผนปรับปรุง จัดทำรายงาน เพิ่มศักยภาพ คณะทำงาน จัดทำ ลักษณะองค์กร http://home.dsd.go.th/msdu ให้ความรู้ คณะทำงาน ดำเนินงานภายใต้โครงการ “พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 (อยู่ระหว่างดำเนินการเสนอขออนุมัติโครงการ) ตั้ง คณะทำงาน นำเสนอแผนงาน และเผยแพร่สู่ บุคคลากรในองค์กร
ที่มา • พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 ได้กำหนดให้ “การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ” • พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 กำหนดให้ส่วนราชการบริหารงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังต่อไปนี้ “เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ่มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการที่เกินจำเป็น ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองตามความต้องการ และมีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ”
ที่มา • ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) กำหนดให้มีการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงานเพื่อยกระดับขีดความสามารถ และมาตรฐานการทำงานของหน่วยราชการให้อยู่ในระดับสูงเทียบเท่าเกณฑ์สากล (High performance) • การบริหารราชการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)ฯ และ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ ดังที่กล่าวมา จำเป็นต้องมีเกณฑ์การประเมินกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติงานที่เป็นที่ยอมรับ • สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ได้จัดทำหลักเกณฑ์และ แนวทางการพัฒนายกระดับมาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้ส่วนราชการนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณการบริหารจัดการองค์เข้าสู่ระดับมาตรฐานสากล รวมทั้งผลักดันการพัฒนาระบบราชการของไทย
ที่มา • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีพื้นฐานทางเทคนิคและกระบวนการเทียบเท่าเกณฑ์รางวัลคุณภาพของนานาชาติ (พัฒนามาจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา :Malcolm Baldrige National Quality Award ; MBNQA) ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้ส่วนราชการมีกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น โดยมีเป้าหมายคือประโยชน์สุขของประชาชนและประโยชน์สูงสุดของประเทศ • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของไทยได้ริเริ่ม จากดำริของ นายวิษณุ เครืองาม (รองนายกรัฐมนตรีและประธาน ก.พ.ร.ในสมัยนั้น) ได้กล่าวในพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2548 โดยมีใจความตอนหนึ่งว่า ...
คำกล่าวของนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ในพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปี 2547 “เมื่อสองปีเศษที่ผ่านมารัฐได้ปฏิรูประบบราชการ หัวใจสำคัญของการ ปฏิรูประบบราชการไม่ได้อยู่ที่การมีกระทรวง ทบวง กรม มากขึ้นหรือน้อยลง แต่ อยู่ที่การให้ผู้ปฏิบัติราชการทั้งหลายปฏิบัติงานของตนด้วยจิตวิญญาณ ด้วย ความมีสำนึก ด้วยความรับผิดชอบ ด้วยความมีประสิทธิภาพ ด้วยความมี วิสัยทัศน์ ด้วยการรู้จักประเมินผล รู้จักการแข่งขัน รู้จักการปรับปรุง รู้จักการ พัฒนา ซึ่งสปิริตทั้งหมดที่ว่านี้ คือ สปิริตของรางวัลคุณภาพแห่งชาตินี่เอง ความ ต่างอยู่ตรงที่ว่าใช้ในระบบของธุรกิจเอกชน ท่านนายกรัฐมนตรีได้ปรารภว่า หากนำไปใช้ในระบบงานของรัฐ ปรับปรุงประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม และถ้าหากมีรางวัลออกมาได้ว่าหน่วยงานใดได้คุณภาพการ ปฏิบัติราชการแห่งชาติหรือบริหารงานรัฐกิจสู่ความเป็นเลิศ ได้แล้วไซร้ประชาชนจะได้รับการตอบสนองและการบริการ ที่น่าจะดีขึ้นกว่านี้อีกเป็นอันมากซึ่งรัฐจะต้องคิดอ่านหาทาง นำเรื่องนี้ไปปรับปรุงหรือประยุกต์ใช้ในโอกาสต่อไป”
การสนับสนุนด้านการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงาน ก.พ.ร. หลักสูตรวิทยากรที่ปรึกษา ความสามารถในการขยายผลสร้างความรู้ความเข้าใจ • ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ หลักสูตรวิทยากรตัวคูณ ความสามารถ ในการประเมิน องค์กรและชี้แนะประเด็นปรับปรุง • ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์ หลักสูตรผู้ตรวจประเมินภายในองค์กร • ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ • นายสมศักดิ์ สุขวัฑฒโก ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้น • DSD-CCO • ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร • เจ้าหน้าที่กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร Road Show
วัตถุประสงค์ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐ ให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • เพื่อให้ส่วนราชการนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร และพัฒนาการบริหารจัดการองค์สู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเองและเป็นบรรทัดฐานในการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ
ประโยชน์ที่จะได้รับ • ในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment) จะทำให้ผู้บริหารได้รับทราบว่าส่วนราชการของตนยังมีเรื่องใดบ้างที่ควรจะต้องปรับปรุง • ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการส่วนราชการ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ การส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้นทั้งผลิตและบริการแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งเป็นไป ตาม พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • องค์กรจะมีภาพลักษณ์ที่ดี ได้รับการยอมรับและชื่นชมจากผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับรางวัล และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ส่วนราชการอื่น
ลักษณะสำคัญขององค์กรลักษณะองค์กรความท้าทายขององค์กรลักษณะสำคัญขององค์กรลักษณะองค์กรความท้าทายขององค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ องค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7. ผลลัพธ์ การ ดำเนินการ
องค์ประกอบของเกณฑ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทางของ ส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการ ขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)
อะไร (WHAT) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลักและวิธีปฏิบัติงาน ของกระบวนการนั้น ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำคัญ อย่างไร (HOW) ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำคัญ เช่น วิธีการ ตัวชี้วัด การนำไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุงและการเรียนรู้ ประเภทคำถาม : อะไร / อย่างไร คำถาม เปรียบเสมือนข้อชี้แนะให้พิจารณาในการปฎิบัติงาน
ตัวอย่างคำถาม “อย่างไร” (1)-ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการกำหนด ในเรื่องวิสัยทัศน์เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการดำเนินการที่คาดหวังไว้รวมทั้งการถ่ายทอด ให้บุคลากรในส่วนราชการนำไปปฏิบัติในการกำหนด ผลการดำเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดหลัก ความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร -ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในการสื่อสาร ในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่สำคัญ โดยผ่านระบบการนำองค์กร
ตัวอักษรที่เป็นตัวเข้มและเอียง เช่น “ผู้บริหารของส่วนราชการ” จะมี คำอธิบายเพิ่มเติมที่ “หมายเหตุ” ซึ่งปรากฏอยู่ที่ท้ายของเกณฑ์แต่ละหัวข้อ โดยมีจุดประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ (1) อธิบายข้อกำหนดของแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน ซึ่งใช้เฉพาะการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (2) แนะนำวิธีการตอบในแต่ละหัวข้อของเกณฑ์ (3) ชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงที่สำคัญกับหัวข้ออื่น เครื่องหมายดอกจัน “(*)” ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น
ลักษณะสำคัญขององค์กรลักษณะองค์กรความท้าทายขององค์กรลักษณะสำคัญขององค์กรลักษณะองค์กรความท้าทายขององค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ องค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7. ผลลัพธ์ การ ดำเนินการ
ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร (12 คำถาม) 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ( 9 คำถาม) 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การจัดทำ แผนปฏิบัติการและ การนำแผนไปปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร • การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ • เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ • ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด • การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ • การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (11 คำถาม) 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้(10 คำถาม) 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (21 คำถาม) 5.1 ระบบบริหารงานบุคคล 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร • การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณ ลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน ก. การศึกษา การฝึก อบรม และการพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (12 คำถาม) 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (15 คำถาม) 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) • ผลความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลตัวชี้วัดที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ • ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ • ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย • ผลด้านการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน Blueprint for Change Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building Knowledge Management e-government MIS ความเชื่อมโยง PMQAกับสิ่งที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
จัดทำลักษณะ สำคัญขององค์กร เพิ่มศักยภาพ คณะทำงาน จัดทำแผน การพัฒนาฯ แต่งตั้ง คณะทำงาน ให้ความรู้ แก่บุคลากร จัดทำแผน การปรับปรุง และขัดเกลารายงาน วิเคราะห์โอกาส ในการปรับปรุง และจัดลำดับ ประเมินตนเอง (SA) จัดทำรายงานผล การดำเนินงานสำคัญ Application Report
ประชุม/ชี้แจง บริหาร องค์ความรู้ ให้ความรู้ แก่บุคลากร
แต่งตั้ง คณะทำงาน
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร + จัดทำรายงาน + ประเมินองค์กร + จัดทำแผนปรับปรุง
Q & A ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ: นักวิชาการฝึกอาชีพ 7 ว. กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน 08 – 1901 - 6799 s_promdum@hotmail.com http://home.dsd.go.th/msdu msdu@dsd.go.th 0 – 2247 - 0303
วัฒนธรรมควายคู่-ควายรู้คู่ควายแรง-วัฒนธรรมการเรียนรู้ร่วมกันวัฒนธรรมควายคู่-ควายรู้คู่ควายแรง-วัฒนธรรมการเรียนรู้ร่วมกัน หลักการสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถ ต้องรวมปราชญ์รวมศาสตร์ที่หลากหลาย ทำงานร่วมรวมพลังทั้งใจกาย เปรียบดังควายไถนาอยู่เคียงคู่กัน ควายหนึ่งคือควายแรงเป็นควายรุ่น ช่วยดันดุนหนุนแรงอย่างแข็งขัน อุตสาหะมานะสร้างสารพัน ร่วมผลักดันพร้อมเรียนรู้คู่องค์กร อีกควายหรือคือควายเฒ่าเรียกควายรู้เปรียบดั่งครูผู้ชี้นำคำสั่งสอน ประคับช่วยประคองให้ไม่สั่นคลอน ดุจภัสสรส่องสว่างหนทางไกล จึงต้องรวมพลังคู่มุ่งสู่หนึ่ง สร้างควายซึ่งรู้คู่แรงแปลงพันธ์ใหม่ เติมความรู้คู่หลักคิดเสริมจิตใจควายพันธ์ไทยก้าวไกลในสากล ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้าธนบุรี ขอขอบคุณในความเอื้ออาทร