190 likes | 389 Views
แนวทางการติดตามประเมินผล แผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 (2548-2554). นาย เสมอใจ ศุขสุเมฆ ผู้อำนวยการส่วนติดตามและประเมินผล สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน โรงแรมสยามซิตี้ วันที่ 25 ก.ค. 2548. ประเด็นที่นำเสนอ. การติดตามประเมินผลแผนอนุรักษ์ฯ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการติดตามประเมินผล.
E N D
แนวทางการติดตามประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 (2548-2554) นาย เสมอใจ ศุขสุเมฆ ผู้อำนวยการส่วนติดตามและประเมินผล สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน โรงแรมสยามซิตี้ วันที่ 25 ก.ค. 2548
ประเด็นที่นำเสนอ • การติดตามประเมินผลแผนอนุรักษ์ฯ • ปัญหาและอุปสรรค • แนวทางการติดตามประเมินผล
คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ปลัดกระทรวงพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานเลขานุการกรม สำนักนโยบายและแผนพลังงาน สำนักวิเคราะห์แผนพลังงาน
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงานสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงาน เลขานุการกรม 17 สำนักงาน เลขานุการกรม สำนักนโยบายและ แผนพลังงาน 26 สำนักนโยบายและ แผนพลังงาน สำนักวิเคราะห์ แผนพลังงาน • * งานบริหารทั่วไป • * งานการเจ้าหน้าที่ • * งานช่วยอำนวยการ • และประชาสัมพันธ์ • * งานการคลัง * ส่วนยุทธศาสตร์นโยบาย และแผนพลังงาน * ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศพลังงาน * ส่วนติดตาม และประเมินผล • * ส่วนปิโตรเลียม • * ส่วนไฟฟ้า • * ส่วนอนุรักษ์พลังงาน • และพลังงานหมุนเวียน
การติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงานการติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน กรรมการกองทุนฯ • อำนาจหน้าที่ อนุฯประเมินผล • อนุมัติเงินกองทุนเพื่อจ้างที่ปรึกษาประเมินผล • ประเมินผลรายโครงการ • เสนอข้อพิจารณาประกอบรายงานประเมินผล • ตั้งคณะทำงานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ • งานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย อนุฯประเมินผล สนพ. งานประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน รายงานผล
ปัญหาและอุปสรรค • การประเมินที่ผ่านมาทิ้งช่วงเวลาห่าง ผลการประเมินไม่สมบูรณ์ • โครงการขาดการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ไม่สามารถปรับแก้โครงการได้ทันการ • ขาดเอกภาพในการติดตามประเมินผลโครงการ • เจ้าหน้าที่ สนพ. มีจำนวนไม่เพียงพอ
แนวทางการประเมินผลแผนอนุรักษ์ฯแนวทางการประเมินผลแผนอนุรักษ์ฯ • ประเมินผลรายโครงการอย่างต่อเนื่อง • เน้นการมีส่วนร่วม • ประเมินผลจากระดับโครงการ สู่แผนงาน และแผนอนุรักษ์
เป้าประสงค์ของแนวทางการประเมินผลเป้าประสงค์ของแนวทางการประเมินผล • Awareness ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ และยอมรับแนวทางการติดตามประเมินผล • Attempt ก่อให้เกิดความร่วมมือประสานงานในการทำงาน • Achievement มีการนำผลที่ได้ไปปรับปรุงงาน
การติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่องการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ประเมินความเหมาะสมของแผนการดำเนินโครงการและการสนองตอบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ ก่อนดำเนินโครงการ(Pre-Project) เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ อย่างไร ระหว่างเนินโครงการ(Ongoing-Project) เสร็จสิ้นโครงการ(Project Completion) ประเมินถึงผลสำเร็จของโครงการว่าบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือไม่ ผลกระทบ/ความยั่งยืน(Post-Project) เพื่อดูผลสำเร็จต่อเนื่อง ผลประโยชน์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการในระยะยาว
การติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วมการติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ตรวจติดตามและทบทวน ตรวจสอบ จับผิด สร้างความเข้าใจ สร้างความขัดแย้ง รับฟังความคิดเห็น การแสดงความเห็น ร่วมกันวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
การประเมินผลโครงการ แผนงาน และแผนอนุรักษ์ฯ เป้าหมาย การติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงานปีงบประมาณ 2548 ยุทธศาสตร์ แผนอนุรักษ์พลังงาน BSC แผนงานบริหาร เชิงกลยุทธ์ แผนงานพัฒนา พลังงานทดแทน แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน CIPPI โครงการ รายงานผลการติดตามและประเมินผล จัดทำระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ
เป้าหมาย แผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน แผนงาน พัฒนาพลังงานทดแทน แผนงาน บริหารเชิงกลยุทธ์ 7,530 ktoe 10,353 ktoe • งานศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย • งานบริหารจัดการ • งานอื่นๆ • พลังงานแสงอาทิตย์ 33 ktoe • พลังงานลม 19 ktoe • พลังงานน้ำ 102 ktoe • พลังงานชีวมวล 3,673 ktoe • พลังงานก๊าซชีวภาพ 1,625 ktoe • พลังงานจากพืช 2,078 ktoe • สาขาขนส่ง 6,269 ktoe • สาขาอุตสาหกรรม 3,411 ktoe • สาขาบ้านอยู่อาศัย 673 ktoe • มีผู้จบการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ 400 คน • พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนประถมและมัธยมอย่างน้อย 30,000 โรงเรียน • พัฒนาหลักสูตรอุดมศึกษาโดยผลิตบุคลากรภาคอุตสาหกรรม 1,400 คน • พัฒนาทักษะผู้ชำนาญการด้านพลังงานระดับท้องถิ่น 500 คน
การจัดสรรงบประมาณ ปี 2548 แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน แผนงาน บริหารเชิงกลยุทธ์ แผนงาน พัฒนาพลังงานทดแทน 15 % 50 % 35 % • งานศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย 33 % • งานบริหารจัดการ 33 % • งานอื่น ๆ ตามนโยบาย 34 % • งานศึกษาวิจัยเชิงเทคนิค 30 % • งานพัฒนาและสาธิต 45 % • งานพัฒนาบุคลากร 20 % • งานประชาสัมพันธ์ 5 % • งานศึกษาวิจัยเชิงเทคนิค 65 % • งานพัฒนาและสาธิต 20 % • งานพัฒนาบุคลากร 10 % • งานประชาสัมพันธ์ 5 % 455 ล้านบาท 650 ล้านบาท 195 ล้านบาท 1,300 ล้านบาท
การกำหนดกลุ่มโครงการในการติดตามและประเมินผลการกำหนดกลุ่มโครงการในการติดตามและประเมินผล
การประเมินผลโครงการ โดย CIPPI Model ประสิทธิภาพ IMPACT INPUT PROCESS PRODUCT • นโยบายของ สนพ. • กลยุทธ์ของ สนพ. • แผนอนุรักษ์พลังงาน • ระยะที่ 3 • งบประมาณ • บุคลากร • ทรัพยากร • ผลจากการดำเนินโครงการ • ผลตอบแทนด้านพลังงาน • ผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจ • องค์ความรู้จากโครงการ • ความมั่นคงด้านพลังงาน • การจัดหาพลังงาน • เศรษฐกิจ • สังคม • สิ่งแวดล้อม CONTEXT • กระบวนการดำเนิน โครงการ • การจัดการ / การบริหารโครงการ ประสิทธิผล • ยุทธศาสตร์ของกระทรวง • นโยบายของกระทรวง • สถานการณ์พลังงาน • เศรษฐกิจ • เทคโนโลยี • การประเมินผลที่ผ่านมา ผลกระทบ ความยั่งยืนของโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ • เข้าใจวัตถุประสงค์ กรอบและแนวทางติดตามประเมินผลร่วมกัน • มีการประสานร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง • รูปแบบชัดเจนในการประสานข้อมูลระหว่างกัน • ข้อมูลที่ได้มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ • ผลการประเมินเป็นที่ยอมรับ • เรียนรู้และจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ • พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผล
โครงสร้างการบริหารงานติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 คณะกรรมการกองทุน ฯ คณะอนุกรรมการประเมินผลฯ รายงานผล (ทุกๆ 3 เดือน) คณะทำงาน Steering Committee ส่วนติดตามและประเมินผล ที่ปรึกษา โครงการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงานสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน www.eppo.go.th