510 likes | 790 Views
ผลการดำเนินงาน 5 ปี (พ.ศ. 2551 - 2555 ). สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์. อัตรามารดาตาย หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ การบริการ ANC คุณภาพ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. อัตรามารดาตาย.
E N D
ผลการดำเนินงาน 5 ปี (พ.ศ.2551-2555) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ • อัตรามารดาตาย • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ12 สัปดาห์ • การบริการ ANC คุณภาพ • หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
อัตรามารดาตาย เป้าหมาย ≤ 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ผลการดำเนินงานของประเทศ 34.76
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เป้าหมาย ≥ร้อยละ 60 ผลการดำเนินงานของประเทศ 56.60
หญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ ครบ 4 ครั้งคุณภาพ เป้าหมาย ≥ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงานของประเทศ 86.19
หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 10
กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี • อัตราตายทารก • ภาวะขาดออกซิเจน • อัตราทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม • ทารกแรกเกิดได้รับการดูแลครบ 2 ครั้งคุณภาพตามเกณฑ์ • ทารกแรกเกิด ถึง 2 วัน ที่มีระดับของ TSH มากกว่า 11.25 mU/L • อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน • อัตราของการครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญ • เด็กมีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วน • เด็กมีพัฒนาการสมวัย • ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก
อัตราตายทารก เป้าหมาย < 15 ต่อการเกิดมีชีพ 1000 คน ผลการดำเนินงานของประเทศ 11.2
ภาวะขาดออกซิเจน เป้าหมาย < 25 ต่อการเกิดมีชีพ 1000 คน ผลการดำเนินงานของประเทศ 25.6
อัตราทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม เป้าหมาย < ร้อยละ 7
มารดาและทารกแรกเกิดได้รับการดูแลครบ 2 ครั้งคุณภาพตามเกณฑ์ เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90
ทารกแรกเกิด ถึง 2 วัน ที่มีระดับของ TSH มากกว่า 11.25 mU/L เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 3
อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 25
อัตราของการครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญอัตราของการครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญ เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90
เด็กมีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วนเด็กมีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วน เป้าหมาย > ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงานของประเทศ 77.06
เด็กมีพัฒนาการสมวัย เป้าหมาย > ร้อยละ 71.85 ผลการดำเนินงานของประเทศ 97.08
ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมากศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก เป้าหมาย > ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงานของประเทศ 67.65
กลุ่มวัยเรียน(6-18 ปี) • เด็กมีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วน • อัตราของการครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญ • อัตราการตั้งครรภ์ในมารดาอายุต่ำกว่า 20 ปี • อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา • (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)
เด็กมีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วนเด็กมีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วน เป้าหมาย > ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงานของประเทศ 60.4
อัตราของการครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญอัตราของการครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญ เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 95 ผลการดำเนินงานของประเทศ MMR =94.7 ,dT =96.1
อัตราการตั้งครรภ์ในมารดาอายุต่ำกว่า 20 ปี เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 10
อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาอัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา
กลุ่มวัยทำงาน 1.โรคไม่ติดต่อ เบาหวานความดัน มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปากมดลูก 2. การบาดเจ็บ อุบัติเหตุทางถนน 3. โรคติดต่อ โรคไข้เลือดออก โรคเอดส์ 4.ยาเสพติด
อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 5
อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตรายใหม่อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตรายใหม่ เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 10
อัตราโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่สามารถควบคุมได้อัตราโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่สามารถควบคุมได้
การวัดรอบเอวของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป • 5 กลยุทธ์ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้มาตรการ 3 อ 2 ส • 1.พัฒนาองค์ความรู้ • 2.จัดตั้งองค์กรไร้พุงต้นแบบ • 3.พัฒนาระบบข้อมูล • 4.สร้างกระแสสื่อสาธารณะ • 5.เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน/เครือข่าย
อัตราตายด้วยโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดีอัตราตายด้วยโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 24 ผลการดำเนินงานของประเทศ 22.3
อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 20
อุบัติเหตุทางถนน เป้าหมาย ≤ ร้อยละ 13 ผลการดำเนินงานของประเทศ 21.81
โรคเอดส์ เป้าหมาย ลดลง 2 ใน 3 สถานการณ์ของประเทศ 20.01
ยาเสพติด นายูง ศรีธาตุ
กลุ่มผู้สูงอายุและคนพิการกลุ่มผู้สูงอายุและคนพิการ สถานการณ์ผู้สูงอายุ จังหวัดอุดรธานีมีประชากรผู้สูงอายุชายหญิงรวมกัน จำนวน 170,390 คน ร้อยละ 10.98 ของประชากร สถานการณ์ผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ กลุ่มที่ 1 (ติดสังคม) ร้อยละ 80.98 กลุ่ม 2. (ติดบ้าน) ร้อยละ 17.81 กลุ่มที่ 3. (ติดเตียง) ร้อยละ 1.21 กลุ่มพิการ ร้อยละ 2.36 คัดกรองสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ร้อยละ 88.16
คนพิการ การเข้าถึงบริการของรัฐ คนพิการรวมทุกสิทธิ ร้อยละ 2.07 ของประชากร UC คนพิการที่มีสิทธิ ท.74 ร้อยละ 2.02 ของประชากร UC คนพิการที่ใช้สิทธิอื่นๆ ร้อยละ 2.45 ของคนพิการ
ภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมด้านสุขภาพภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมด้านสุขภาพ • กองทุนสุขภาพชุมชน 144 แห่ง • องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ( อบต. 180 แห่ง + อบจ. 1 แห่ง ) 181 แห่ง • ชมรม อสม.ระดับตำบล 156 แห่ง • ชมรม อสม.ระดับอำเภอ 20 แห่ง • ชมรม อสม.ระดับจังหวัด 1 แห่ง • ชมรมผู้สูงอายุระดับตำบล 124 แห่ง • เครือข่ายวิทยุชุมชน 10 แห่ง • เครือข่ายผู้พิการระดับตำบล 82 แห่ง ( 15 อำเภอ ) • ชมรมออกกำลังกาย 156 แห่ง • ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคระดับอำเภอ 156 แห่ง • รวม 1,030 ภาคีเครือข่าย
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2550 1.การลดอุบัติเหตุจราจรในเขตเทศบาลนคร 2.เกษตรอินทรีย์ 3.สุขภาวะเด็กเยาวชนและสตรี
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2551 1.เกษตรอินทรีย์ 2.นโยบายสาธารณะเรื่องสิทธิสตรีกรณีเมียฝรั่ง
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2552 พัฒนากลไกและศักยภาพเครือข่าย/ฐานข้อมูลเครือข่าย สมัชชาฯขับเคลื่อนประเด็น สิทธิสตรีกรณีเมียฝรั่ง และกำหนดประเด็น 1.ปัญหาสุขภาวะเด็กเยาวชน 2.สุขภาวะผู้สูงอายุ 3.ปัญหาสังคม
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2553 ข้อเสนอประเด็นสุขภาวะเด็กเยาวชน 4 ประเด็น คือ 1.การแก้ปัญหาวัยรุ่นกับการตั้งครรภ์ไม่พร้อม 2.การแก้ปัญหาเยาวชนกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3.การแก้ปัญหาเด็กติดเกม , 4.การแก้ปัญหาความรุนแรงในเด็กและเยาวชน
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2554 • มติสมัชชาสุขภาพเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน 4 ประเด็น • จัดทำธรรมนูญสุขภาพตำบล ได้ธรรมนูญสุขภาพ 2 ตำบล • ต.บ้านตาด อ.เมือง และต.ผาสุก อ.วังสามหมอ
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2555 • ผลักดันมติแก้ปัญหาวัยรุ่นกับการตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยบูรณาการร่วมกับ • แผนงานโครงการของหน่วยงาน/และองค์กร เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) • จัดกระบวนการรับฟังความเห็นของผู้ให้บริการและผู้รับบริการหลักประกันสุขภาพ • โดยใช้กระบวนการสมัชชาพิจารณ์ จ.อุดรธานี ร่วมกับ สปสช.เขต ๘ อุดรธานี
การขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีการขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานี ปี 2556 • 1.จัดกระบวนการรับฟังความเห็นของผู้ให้บริการและผู้รับบริการหลักประกันสุขภาพ • โดยใช้กระบวนการสมัชชาพิจารณ์ จ.อุดรธานี ร่วมกับ สปสช.เขต ๘ อุดรธานี • 2. พัฒนาสมัชชาสุขภาพจังหวัดอุดรธานีเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ • ใน 4 ประเด็น คือ • 1. สุขภาวะเด็กและเยาวชน • 2. การส่งเสริมผักปลอดสารพิษ • 3. การเพิ่มพื้นที่สีเขียว • 4. การจัดการขยะ
การพัฒนาคุณภาพบริการจังหวัดอุดรธานีมาตรฐาน Hospital Accreditation (HA) 100 %
การพัฒนาคุณภาพบริการจังหวัดอุดรธานีมาตรฐาน Quality assurance (QA) 100 %
การพัฒนาคุณภาพบริการจังหวัดอุดรธานีมาตรฐาน Lab Accreditation (LA) 100 %
การพัฒนาคุณภาพบริการจังหวัดอุดรธานีมาตรฐาน Primary Care Award (PCA) 100 %