1 / 25

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามแนวทาง สกอ. ประจำปีการศึกษา 2550

Office of Educational Quality Development Chiang Mai University. “ EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality ”. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามแนวทาง สกอ. ประจำปีการศึกษา 2550 และสามารถรองรับการประเมินภายนอกตาม สมศ.

korene
Download Presentation

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามแนวทาง สกอ. ประจำปีการศึกษา 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามแนวทาง สกอ. ประจำปีการศึกษา 2550 และสามารถรองรับการประเมินภายนอกตาม สมศ.

  2. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” สาระสรุปหลักเกณฑ์ IQA ตามกฎกระทรวงฯ 1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของ คณะวิชา / สถานศึกษาจะคำนึงถึงองค์ประกอบ คุณภาพการศึกษา รวม 9 องค์ประกอบ

  3. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” สาระสรุปหลักเกณฑ์ IQA ตามกฎกระทรวงฯ (ต่อ) 2 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ให้ใช้แนวปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ให้คณะวิชาและสถานศึกษา จัดให้มีหน่วยงานหรือคณะกรรมการด้านการประกันคุณภาพ 2.2 ให้คณะวิชาและสถานศึกษา พัฒนาระบบและกลไก IQA ภายใต้กรอบ สกอ. กำหนด 2.3 ให้คณะวิชาและสถานศึกษา จัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ 1) หลักสูตร 2) คณาจารย์ฯ 3) สื่อการศึกษาฯ 4) ห้องสมุดฯ 5) อุปกรณ์การศึกษา 6) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา 7) การวัดผล 8) อื่นๆ ตามเห็นสมควร ทั้งนี้ คณะวิชาและสถานศึกษาอาจจัดให้มีระบบการตรวจสอบและประเมินผล การดำเนินการขึ้นเป็นการภายใน ตามที่เห็นสมควร

  4. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” การตรวจสอบฯในปี 2551 1. การตรวจสอบและประเมินฯ ตามแนวทาง สกอ. ดำเนินการในช่วงเดือน มิถุนายน – กรกฎาคม 2551 2. การตรวจสอบและประเมินฯ ตามแนวทาง TQA ดำเนินการในช่วงปลายปี 2551

  5. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์มาตรฐาน

  6. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” องค์ประกอบคุณภาพ กำหนด 9 องค์ประกอบตามแนวทาง สกอ. ได้แก่ (1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ (2) การเรียนการสอน (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแก่สังคม (6) การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ (9) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

  7. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” ตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้ • จำนวนตัวบ่งชี้รวม 66 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ • กำหนดตัวบ่งชี้ตามสกอ. กำหนด 41 ตัวบ่งชี้ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมินตาม สกอ. กำหนด • กำหนดเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ ตามสมศ. ที่นอกเหนือจากสกอ. กำหนดอีก 21 ตัวบ่งชี้ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ตามสมศ.กำหนด • กำหนดเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ ภายใน CMU-QA อีก 4 ตัวบ่งชี้

  8. ชนิดของตัวบ่งชี้

  9. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” เกณฑ์การประเมิน ทั้งตัวบ่งชี้ สกอ. และสมศ. กำหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้เป็น 3 ระดับ คะแนน 1 หมายถึง มีการดำเนินการตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดบางส่วนและต่ำกว่ามาตรฐานที่ควรจะเป็น หรือผลการดำเนินงานต่ำกว่ามาตรฐานที่ควรจะเป็น คะแนน 2 หมายถึง มีการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดในระดับที่ยอมรับได้และใกล้เคียงกับมาตรฐาน หรือมีผลการดำเนินงานที่ใกล้เคียงกับมาตรฐาน คะแนน 3 หมายถึง มีการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดครบถ้วนเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด หรือมีผลการดำเนินงานที่ได้มาตรฐาน ในกรณีที่ยังไม่มีการดำเนินการ หรือไม่มีผลการดำเนินงานหรือผลการดำเนินงานไม่ถึงเกณฑ์การประเมินคะแนน 1 ให้ถือว่าได้คะแนน 0

  10. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” การกระจายน้ำหนักความสำคัญ ให้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้

  11. กระจายน้ำหนักความสำคัญตามสัดส่วน CMU-QA ดังนี้ ระดับองค์ประกอบ

  12. ระดับตัวบ่งชี้ กระจายน้ำหนักความสำคัญระดับองค์ประกอบให้กับระดับตัวบ่งชี้ภายในองค์ประกอบ โดยวิธีเฉลี่ยเท่าๆกันด้วยจำนวนตัวบ่งชี้ ตัวอย่างเช่น องค์ประกอบที่ 1น้ำหนักความสำคัญ = 5 มี 2 ตัวบ่งชี้ กระจายน้ำหนักให้ตัวบ่งชี้ละ = 5/2 = 2.50 องค์ประกอบที่ 2น้ำหนักความสำคัญ = 30 มี 24 ตัวบ่งชี้ กระจายน้ำหนักให้ตัวบ่งชี้ละ = 30/24 = 1.25

  13. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” C E C E A B A B มาจาก + การประเมินผล ตัวอย่างเช่น

  14. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” สรุปผลการประเมิน รวมคะแนนประเมินที่ได้ทั้ง 9 องค์ประกอบแล้วเทียบผลการประเมิน ดังนี้

  15. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” คู่มือ CMU-QA การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ - องค์ประกอบคุณภาพ - ตัวบ่งชี้ เกณฑ์มาตรฐาน - วิธีการดำเนินงาน / ผลดำเนินงาน - ข้อมูล เอกสาร หลักฐานประกอบการรายงาน - เกณฑ์การประเมิน การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

  16. ข้อพึงระวัง

  17. สำหรับตัวบ่งชี้ที่มีเกณฑ์มาตรฐาน : ระดับ การดำเนินการต้องเรียงตามลำดับจากข้อแรกไปจนข้อสุดท้าย ตัวอย่างเช่น ถ้าเกณฑ์การประเมินเป็น คณะต้องมีการดำเนินการตั้งแต่ข้อ 1 เรียงตามลำดับ จนถึงข้อ 7 จึงจะได้คะแนน 3 หากมีการดำเนินการเพียงบางข้อ เช่น ข้อ 1, 4, 5 และ 6 ก็จะได้เฉพาะคะแนน 1 เท่านั้น

  18. สำหรับในปีแรก หากคณะมีการดำเนินการเป็นบางข้อและไม่ได้เรียงตามลำดับ สกอ. อนุโลม ให้ได้เฉพาะคะแนน 1 เท่านั้น

  19. สำหรับตัวบ่งชี้ที่มีเกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ การดำเนินการไม่จำเป็นต้องเรียงตามลำดับจากข้อแรกไปจนข้อสุดท้าย ตัวอย่างเช่น ถ้าเกณฑ์การประเมินเป็น • ถ้าดำเนินการ 4 ข้อ จะได้คะแนน 1 • ถ้าดำเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ จะได้คะแนน 2 • และถ้าดำเนินการ 7 ข้อจะได้คะแนน 3

  20. ตัวบ่งชี้ที่ใช้ข้อมูลจำนวนอาจารย์ประจำตัวบ่งชี้ที่ใช้ข้อมูลจำนวนอาจารย์ประจำ

  21. ตัวอย่างเช่น อาจารย์ประจำที่นับรวมอาจารย์ลาศึกษาต่อ สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คำอธิบายตัวบ่งชี้ : การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่ต้องการ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ และความลุ่มลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสำคัญของ สถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนา องค์ความรู้ ดังนั้น สัดส่วนคุณวุฒิอาจารย์จึงต้องมีความเหมาะสมต่อพันธกิจ รวมทั้งหลักสูตรที่ เปิดสอนด้วย ซึ่งตัวบ่งชี้นี้จะแสดงให้เห็นถึงสัดส่วนคุณวุฒิของอาจารย์ประจำที่มีบทบาทสำคัญ ในการขับเคลื่อนพันธกิจของสถาบัน จำนวนอาจารย์ประจำ นับรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

  22. ตัวอย่างเช่น อาจารย์ประจำที่ไม่นับรวมอาจารย์ลาศึกษาต่อ ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติเป็น ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คำอธิบายตัวบ่งชี้ : หน้าที่สำคัญประการหนึ่งของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่เน้นการวิจัย คือ การฝึกนักวิจัยภายใต้การจัดการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ทั้งนี้ โดยทำหน้าที่ควบคุม วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาที่รับเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมวิจัยของคณาจารย์ ตัวบ่งชี้นี้นอกจาก แสดงถึงการมีส่วนร่วมในงานวิจัยของอาจารย์ประจำแล้ว ยังแสดงถึงการบูรณาการการเรียน การสอนกับงานวิจัยซึ่งเป็นวิธีการฝึกฝนนักวิจัยรุ่นใหม่อย่างมีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง นับเฉพาะอาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง

  23. ตัวอย่างเช่น อาจารย์ประจำ+นักวิจัยนับรวมอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ ตัวบ่งชี้ที่ 7.7 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ คำอธิบายตัวบ่งชี้ :สถาบันพึงส่งเสริมให้คณาจารย์สร้างและพัฒนาผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพให้มี คุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพของสถาบันและความเป็นเลิศทางวิชาการ การส่งเสริมให้ คณาจารย์ได้เสนอผลงานในเวทีต่างๆ จนได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ จะเป็นการส่งเสริมให้อาจารย์สร้างผลงานที่มีคุณภาพและเป็นเกียรติภูมิต่อตนเอง สถาบัน และ ประเทศชาติ จำนวนอาจารย์ประจำให้นับรวมนักวิจัย การนับผู้ได้รางวัลสามารถนับซ้ำได้หากได้รับหลายรางวัล และนับรวมอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำที่ลาศึกษาต่อด้วย

  24. ตัวบ่งชี้ที่ 4.3(1) ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 สมศ.) ตัวอย่างเช่น อาจารย์ประจำ+นักวิจัยไม่นับรวมอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ คำอธิบาย :ร้อยละของอาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันเทียบกับอาจารย์ประจำ ทั้งนี้ให้นับเฉพาะอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ และไม่นับซ้ำแม้ว่าอาจารย์ประจำหรือนักวิจัยท่านนั้นจะได้รับทุนวิจัยหลายครั้งในปีการศึกษานั้นๆ การได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ หมายรวมถึง การได้รับเงิน วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือต่างๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากภายในสถาบันเพื่อการทำงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ในกรณีที่เป็นวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ให้คำนวณเป็น จำนวนเงินตามราคาของสิ่งนั้นๆ

  25. Office of Educational Quality Development Chiang Mai University “EQD is a driving mechanism for Chiang Mai University towards international quality” สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.eqd.cmu.ac.th

More Related