220 likes | 450 Views
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จังหวัดอุดรธานี วันที่ 21 กันยายน 2553. จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ ( H1N1 ) จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 20 ก.ย. 53. หนองคาย. N. นายูง. อ.ท่าบ่อ. 3. สร้างคอม. บ้านดุง. น้ำโสม. เลย. 3. เพ็ญ. 2. บ้านผือ.
E N D
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009จังหวัดอุดรธานี วันที่ 21 กันยายน 2553
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1) จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 20 ก.ย. 53 หนองคาย N นายูง อ.ท่าบ่อ 3 สร้างคอม บ้านดุง น้ำโสม เลย 3 เพ็ญ 2 บ้านผือ 8 ทุ่งฝน 6 3 พิบูลย์รักษ์ กุดจับ เมือง 5 หนองหาน 201 4 สกลนคร หนองวัวซอ หนองบัวลำภู กู่แก้ว ไม่มีรายงานผู้ป่วย ไชยวาน ก.ประจักษ์ 8 4 กุมภวาปี หนองแสง 5 พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ (H1N1) วังสามหมอ 2 ศรีธาตุ โนนสะอาด 1 3 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 258 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย กาฬสินธุ์ ขอนแก่น
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามวันเริ่มป่วย ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. 53 – 20 ก.ย. 53 = เสียชีวิต มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน จำนวนผู้ป่วย 258 ราย อัตราป่วย 16.80 /ประชากรแสนคน , จำนวนผู้เสียชีวิต 2 ราย ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี
แสดงค่าเฉลี่ย 7 วัน ของสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษาในจังหวัดอุดรธานี(สัปดาห์ที่ 1-36) 13.37
จำนวนวันของการส่งรายงาน ILIจำแนกรายสถานบริการ ระหว่าง วันที่ 12-18 ก.ย.53 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 37 วันที่ 12 – 18 กันยายน 2553
นโยบาย รมต.สาธารณสุขVDO conference 14 Aug.2010 • เร่งรัดการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลแก่กลุ่มเสี่ยง • หากพบผู้ป่วยให้ยาต้านไวรัสOseltamivirทันที ไม่ต้องกังวลดื้อยา • ค้นหาการเจ็บป่วยเป็นกลุ่มก้อน(Cluster) • สถานที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก ต้องมีการคัดกรอง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค • ให้ประสานและร่วมกับ อปท. ทุกระดับ และ อสม.ครู นร. ค้นหาผู้ป่วย และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทางอย่างเข้มข้นในมาตรการป้องกันควบคุมโรค(ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด)
๑. ปิด : ปิดปากปิดจมูกอย่างถูกต้องเมื่อไอจาม ๒. ล้าง : ล้างมือบ่อยๆ และทุกครั้งหลังไอ จาม ก่อนรับประทานอาหาร ๓. เลี่ยง : สถานที่เสี่ยง (แออัด ทึบ อากาศไม่ถ่ายเท แสงแดดส่องไม่ถึง) ใกล้ชิดผู้มีอาการป่วย (ไอ จาม ) ๔. หยุด : เมื่อป่วย (หยุดงาน หยุดเรียน หยุดกิจกรรม) เพื่อให้หายป่วยเร็วและไม่แพร่เชื้อให้ผู้อื่น เสริม ๔ พฤติกรรมป้องกันโรคโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่๒๐๐๙
รับรู้ : รู้เรื่องโรค รู้สถานการณ์โรค รู้ความเสี่ยงของตนเอง ร่วมเร่ง : การจัดการความร่วมมือทุกภาคส่วนในการป้องกัน ควบคุมโรค ๓. ลดป่วย : สนับสนุนการดำเนินงานของทุกภาคส่วน ๔. ลดตาย : การป้องกันในกลุ่มเสี่ยงป่วยรุนแรง การรักษาเร็ว ได้ยาเร็ว รวมทั้งลดการระบาดเป็นกลุ่มก้อน ดำเนินงาน ๔ มาตรการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่๒๐๐๙
วัยเรียน : ทุกระดับชั้น ถึงระดับอุดมศึกษา (เน้นชั้นอนุบาล ประถม) วัยทำงาน : สำนักงาน โรงงาน ฯลฯ วัยอยู่บ้าน : เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : ผู้ป่วยโรคปอด หัวใจ ไต ฯ รวมทั้งกลุ่มเสี่ยง ป่วยรุนแรง เช่น หญิงตั้งครรภ์ ผู้เป็นโรคอ้วน สร้างความปลอดภัยใน๔กลุ่มคน จากโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๐๙
มาตรการเตรียมความพร้อมและการจัดการ การระบาดไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานี ปี 2553 • การดูแลรักษาผู้ป่วย • เน้นแพทย์ทั้งใน รพ. / คลินิก วินิจฉัยและให้การรักษาผู้ป่วยโดยใช้อาการทางคลินิกเป็นหลัก • ให้ยาต้านไวรัสโดยเร็ว • การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • เร่งเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ,รณรงค์ฉีดวัคซีนไข้หวัดฯ • ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน • การเฝ้าระวังโรค • เฝ้าระวังอย่างเข้มข้นใน รพ./สอ./รร. และค่ายทหาร สถานประกอบการ • เฝ้าระวังผู้ป่วยนอกในกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ใน รพ. ตามระบบ รง. • การป้องกันการระบาด • สถานที่ที่มีคนรวมตัวกันจำนวนมากเสี่ยงต่อการระบาดได้ง่าย ควรนำคำแนะนำกระทรวงสาธารณสุขกลับมาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น โรงเรียน,โรงงาน และค่ายทหาร
กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรงกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง • โรคหอบหืดหรือโรคปอดเรื้อรัง • โรคหัวใจและหลอดเลือด (ยกเว้น ผู้มีความดันโลหิตสูงอย่างเดียว) • โรคที่ทำให้ภูมิต้านทานต่ำ หรือ ได้รับการรักษาที่กดภูมิต้านทาน • โรคเอดส์ โรคมะเร็ง • โรคไตเรื้อรัง • ภาวะความผิดปรกติทางเมตาโบลิซึม เช่น โรคเบาหวาน • โรคธาลัสซีเมีย (ไม่รวมผู้เป็นพาหะ)
กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรงกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง • หญิงตั้งครรภ์ • โรคอ้วน ผู้ใหญ่: BMI=น้ำหนัก (กก.)/ส่วนสูง (ม.)2>30 (หรือ 40) เด็ก: น้ำหนัก/ส่วนสูง มากกว่าค่ามาตรฐาน 40% • เด็กอายุ <18 ปี ที่กำลังกินยาแอสไพรินรักษาโรค เช่น โรคคาวาซากิ รูมาตอยด์ • มีความผิดปรกติทางระบบประสาท โรคลมชัก ที่จะทำให้ป้องกันการแพร่เชื้อยาก • อายุน้อยกว่า 2 ปี หรือ มากกว่า 65 ปี
กลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า • อายุน้อยกว่า 2 ปี หรือ มากกว่า 65 ปี • เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และ อยู่ในระดับปรกติจากการรักษา • ติดเชื้อ HIV ที่มี CD4 >350/uL • โรคระบบประสาทที่ผู้ป่วยรับรู้และดูแลตัวเองได้ดี ไม่มีปัญหาการหายใจและการสำลัก
การรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2553 • รอบที่ 1 รณรงค์ 11 ม.ค.-31 พ.ค.53 • เป้าหมายวัคซีน 32,960 ราย • ผลการให้บริการ 30,517 ราย(92.6%) • รอบที่ 2 รณรงค์ 1 ก.ค. – 20 ก.ย.53 • เป้าหมายวัคซีน 42,434 โด๊ส • ผลการให้บริการ 29,053 ราย(68.46%) • กลุ่มเป้าหมาย • บุคลากรทางสาธารณสุขและ ผู้กำจัดซากสัตว์ปีก • หญิงตั้งครรภ์ 7 เดือนขึ้นไป • เด็กอายุ 6 เดือน-2ปี ทุกคน • คนอ้วน น้ำหนักมากกว่า 100 กก. • ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน • ผู้ป่วยเรื้อรัง 9 กลุ่มโรค • ผู้พิการทางสมองช่วยตัวเองไม่ได้ COPD,หอบหืด, หัวใจ, CVA, ไตวาย, เคมีบำบัด, DM,ธาลัสซีเมีย, ภูมิคุ้มกันบกพร่องรวม HIV ที่มีอาการ
ผลการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2553 จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม – 20 กันยายน 2553
Check list • บันทึกข้อมูล ILI ทุกวัน ค้นหาผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน(Cluster) • ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มเสี่ยง และบันทึก Online • สรุปการใช้ยา Oseltamivir ทุกวันพฤหัสฯ • บันทึก VMI • วัคซีนทุกวันศุกร์ จนกว่าจะหมด • ยาต้านไวรัส ทุกวันที่ 25 ของเดือน • อุปกรณ์ป้องกัน ทุกวันที่ 25 ของเดือน • ประชาสัมพันธ์ ความรู้ การป้องกัน สื่อทุกแขนงในพื้นที่