120 likes | 328 Views
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ( Service Level Agreement: SLA). Service Level Agreement (SLA).
E N D
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement: SLA)
Service Level Agreement (SLA) SLAเป็นเอกสารบันทึกข้อตกลงระหว่างผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการซึ่งเปรียบเสมือนคำสัญญาถึงระดับคุณภาพของบริการ ที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับได้ โดยข้อตกลง (ขั้นต่ำ) ควรประกอบด้วย ขอบเขตการให้บริการ ข้อกำหนดการให้บริการ ระดับการให้บริการ ขั้นตอนการให้บริการ และการรับเรื่องราวร้องเรียน (เป้าหมาย เพื่อลดความไม่ชัดเจนของการให้บริการ)
การจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ขอบเขตการให้บริการ ข้อกำหนดการให้บริการ การรับเรื่องราวร้องเรียน ระดับการให้บริการ ขั้นตอนการให้บริการ ขั้นตอนการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ 1. การระบุโอกาสในการปรับปรุงและกำหนดเป้าหมายระดับการให้บริการ 2. การจัดทำกระบวนงานใหม่และข้อตกลงระดับการให้บริการ 3. การนำข้อตกลงระดับการให้บริการไปใช้ตลอดจนติดตามและประเมินผล ระบุปัญหา แนวทางการปรับปรุง • กระบวนงานใหม่ • ข้อตกลงระดับการให้บริการ ระยะเวลาที่ใช้ในการให้บริการ จำนวนขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง คุณภาพของผลผลิตและการให้บริการ รูปแบบและการเข้าถึงบริการ ความโปร่งใส ค่าใช้จ่าย ด้านกระบวนการทำงาน (Process) ด้านระบบ (System) ด้านผู้ปฏิบัติงาน (System) 4. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) และการสื่อสาร (Communication)
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ การประเมิน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ส่วนราชการที่จัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (40 กรม) กลุ่มที่ 2 ส่วนราชการที่ได้จัดทำข้อตกลระดับการให้บริการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 แล้ว และมี กระบวนงานใหม่ที่ต้องจัดทำข้อตกลงฯ เพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กับส่วนราชการที่ต้องจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (เป็นปีแรก)
เกณฑ์การประเมินกลุ่มที่ 1 แยกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้
เกณฑ์การประเมิน (ต่อ)กลุ่มที่ 2 แยกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้
เกณฑ์การคำนวณคะแนน ทั้ง 2 กลุ่ม
หลักในการคัดเลือกกระบวนงานหลักในการคัดเลือกกระบวนงาน
เงื่อนไขการดำเนินการตามตัวชี้วัดเงื่อนไขการดำเนินการตามตัวชี้วัด
กรอบระยะเวลาการดำเนินการ (ร่าง)