500 likes | 1.14k Views
ทพญ.สุปราณี ดาโลดม สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 26 สิงหาคม 2557. ยุทธศาสตร์การบูรณาการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558. บูรณา การยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 10 ด้าน. บูรณาการระบบบริการระดับปฐมภูมิ (สป.) บูรณาการระบบบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ
E N D
ทพญ.สุปราณี ดาโลดม สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 26 สิงหาคม 2557 ยุทธศาสตร์การบูรณาการ งานทันตสาธารณสุข ปี 2558
บูรณาการยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 10 ด้าน • บูรณาการระบบบริการระดับปฐมภูมิ (สป.) • บูรณาการระบบบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (กรมอนามัย) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน (กรมอนามัย) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น (กรมสุขภาพจิต)
บูรณาการยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 10 ด้าน • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (กรมคร.) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ (กรมพ.) • บูรณาการด้านพัฒนาระบบการควบคุมโรค (กรมคร.) • บูรณาการด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค (อย.) • บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม(กรมอ.)( Health & Environment)
ผลกระทบการปฏิรูประบบ 1. ส่วนกลาง : สำนักทันตสาธารณสุข สถาบันทันตกรรม สำนักบริหารการสาธารณสุข เป็น regulatory body 2. บทบาท NHA กรมอนามัย : Policy leader, R&D, Technology transfer, Surveillance, Monitor& Evaluation 3. ศูนย์อนามัยเขต :- บทบาท NHA ร่วมกับส่วนกลาง - ร่วมกับจังหวัดสนับสนุนให้เกิดการแก้ปัญหาของประชาชนในจังหวัด 4. จังหวัด : Service provider - ปัญหาสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัยของจังหวัด (มีหรือยัง) - มาตรการแก้ไขปัญหาแบบผสมผสาน (ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู) และบูรณาการ : โครงการ / กิจกรรม + งบประมาณแก้ปัญหา ผ่านเขตบริการสุขภาพ 12 เขต
การดำเนินงานสนับสนุนของกรมต่างๆการดำเนินงานสนับสนุนของกรมต่างๆ
ภาพรวมงบประมาณยุทธศาสตร์กระทรวงปี 58(ล้านบาท)
งานทันตสาธารณสุข ปี 2558 • บูรณาการ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ 10 แผน • ระบบบริการปฐมภูมิ • กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย • กลุ่มเด็กวัยเรียน 2. ภารกิจกรมอนามัย - ฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ - คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า - กลุ่มวัยทำงาน - คุ้มครองผู้บริโภค
1. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านระบบบริการระดับปฐมภูมิ ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข
1. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านระบบบริการระดับปฐมภูมิ • บริการระดับปฐมภูมิ หมายถึง การจัดบริการของสถานบริการที่ให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ผสมผสานทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู • พื้นที่บริการ : รพ.สต. 9762 แห่ง และ ศสม. 226 แห่ง รวม 9988 แห่ง • วัตถุประสงค์ :เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการ พัฒนาระบบการแพทย์ทางเลือก ปรับกระบวนทัศน์การบริการเชิงรุก • ผลลัพธ์ : ประชาชนได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพ เข้าถึงบริการใกล้บ้านใกล้ใจ และการจัดบริการร่วม เชื่อมโยงแบบไร้รอยต่อ • จุดเน้น :การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) • มาตรการที่ 1 :พัฒนาเครือข่ายการให้บริการระดับอำเภอ 13 โครงการ - พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ : Oral Health – District Health System
- ข้อมูลพื้นที่ - งบประมาณ - จัดทำแผน เขต/จ.+ ตัวชี้วัด DHS/OH manager การพัฒนาศักยภาพทีมงานพื้นที่ ปัญหาทันตฯสำคัญในพื้นที่ โครงการแก้ปัญหา 4 กลุ่มวัย MHและเด็กเล็ก, วัยเรียน, วัยทำงาน(โรคเรื้อรัง), สูงอายุ + สิ่งแวดล้อม มาตรการแก้ปัญหา เครือข่ายร่วมแก้ปัญหา ติดตาม /ประเมินผล
พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอ (DHS) เพื่อการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปาก 4 ภาค • 2. พัฒนาบทบาทศูนย์อนามัยในการสนับสนุนระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปาก ระดับอำเภอ (DHS) และ ร่วมตรวจราชการ • 3. พัฒนาระบบประเมินผลแผนแก้ปัญหาระดับเขตและจังหวัด • 4. จัดประชุมนำเสนอผลการทำงานระดับเขต/จังหวัด และกำหนดทิศทางงาน ปี 2559 • 5. ติดตามการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุขระดับจังหวัด • 6. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรในการเขียนบทความวิชาการ และ การ ประเมินผล • 7. เผยแพร่ผลงานพื้นที่ในรูปวารสารทันตสาธารณสุข
3. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพ เด็กและเยาวชน
กิจกรรมทันตใน ANC, WCC ยังคงเดิม • Well Child Care program • เด็กได้รับการตรวจช่องปาก • พ่อแม่ได้รับคำแนะนำและฝึกทักษะแปรงฟันลูก • เด็กเสี่ยง (white lesion) ได้รับการทาfluoride varnish • ANC • ตรวจช่องปาก • ฝึกแปรงฟัน • บริการตามความจำเป็น
3-5 ปี ศพด.คุณภาพ (เด็กอนุบาล) • แปรงฟันทั่วทั้งปากด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ • ควบคุมอาหารหวาน จัดผลไม้ / อาหารเช้า • ตรวจช่องปากแจ้งผู้ปกครอง • กระตุ้นให้มีการแปรงฟันที่บ้านทุกวัน • ให้บริการอุดฟันอย่างง่าย
ความเข้มแข็งของพ่อแม่และชุมชน(ในตำบลนมแม่)ความเข้มแข็งของพ่อแม่และชุมชน(ในตำบลนมแม่) • ฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ • กระตุ้นพ่อแม่ “อย่ายอมแพ้ • แนะนำให้เลือกเวลาแปรงฟันที่เหมาะสม ตอนอาบน้ำ • บทบาท อสม. ไปให้ถึงการแปรงฟัน
- โครงการพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรระดับ CUP ในการจัดบริการบูรณาการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ปฐมวัย - โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (ตำบลฟันดี) - โครงการรณรงค์สร้างกระแสแม่แปรงฟันให้ลูก กิจกรรมโครงการ เด็กปฐมวัย
4. ยุทธศาสตร์บูรณาการ ด้านพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพ เด็กและเยาวชน
กรอบแนวคิด เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข • อ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 • ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 70 • ความชุกโรคฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 • IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 • ร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ • การเสียชีวิตจากการจมน้ำ <6.5 ต่อแสน • พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีมาตรฐาน • สนับสนุนการจัดบริการในพื้นที่ • พัฒนาระบบเฝ้าระวัง • นิเทศ ติดตาม ประเมินผล • สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ • พัฒนาและสร้างความตระหนักแก่บุคลากร • พัฒนาคุณภาพอาหาร ขนม และเครื่องดื่ม • พัฒนาศักยภาพภาคี • ค้นหากลุ่มเสี่ยง การเข้าถึงบริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคใน โรงเรียน และชุมชน ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
กิจกรรม/ โครงการเด็กวัยเรียน ปี 2558 • Technology Transfer • การพัฒนาศักยภาพ CUP ต้นแบบในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กตั้งแต่ อนุบาล-มัธยม • การรณรงค์ การแปรงฟัน 222 และการดื่มน้ำเปล่าเพื่อสุขภาพ • การฝึกอบรม เครือข่ายโรงเรียนแกนนำในการใช้ละครเพื่อการสร้างสรรค์สุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน • M&E • ติดตาม นิเทศ การทำงานของ CUP ต้นแบบ • การประเมินศักยภาพนักเรียนแกนนำในการสื่อสารสุขภาพ • ประเมินผลสภาวะสุขภาพช่องปาก
กิจกรรม/ โครงการเด็กวัยเรียนปี 2558 • สร้างการมีส่วนร่วมของโรงเรียน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพช่องปากและจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ • โรงเรียนปลอดอาหารว่างและเครื่องดื่มเสี่ยงต่อสุขภาพ 5รายการ • นักเรียนไทย สุขภาพดี (มาตรฐานที่ 4 ) • เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี • เชื่อมโยงระบบเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนกับสุขภาพองค์รวม - ระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ-เฝ้าระวังโภชนาการ - ประเมิน ติดตาม กระบวนการดำเนินงานในระดับเขต และจังหวัด
กิจกรรม/ โครงการเด็กวัยเรียนปี 2558 • พัฒนาศักยภาพและเพิ่มคุณภาพการทำงานทันตกรรมป้องกัน โดยอบรมทีมงานระดับ CUP/รพ.สต. ในงานทันตกรรมป้องกันของนักเรียน • อบรมทันตบุคลากรและทีมงานใน CUP ต้นแบบ • พัฒนาคุณภาพการจัดบริการทันตกรรมป้องกันในกลุ่มเด็ก • พัฒนาการทำงานด้วยกระบวนการเครือข่าย
โครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพ วัยทำงานและผู้สูงอายุ
เป้าหมายปีงบประมาณ 2558 • ขับเคลื่อนให้- ผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุ ๓๕,๐๐๐ คน ได้รับบริการใส่ฟันเทียมพระราชทาน - ผู้สูงอายุ ๑๐,๐๐๐ คน ได้รับบริการใส่ฟันเทียมบางส่วนที่มีคุณภาพ ทั้งโดยระบบบริการปกติของภาครัฐ คลินิกเอกชนร่วมจัดบริการ และรณรงค์จัดบริการในพื้นที่เป็นกรณีพิเศษ- ผู้สูงอายุ ๑๐๐,๐๐๐ คน สามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ผ่านทางชมรมผู้สูงอายุ ๓๐๐ ชมรม - ผู้สูงอายุ ๔๕,๐๐๐ คน ได้รับบริการส่งเสริมป้องกันผ่านหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ๓๐๐ แห่ง
การบูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพด้านอื่น ๆ • มาตรฐานผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ • ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ • การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) • วัดส่งเสริมสุขภาพ • หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ • การดูแลช่องปากผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง Dept. of Health
มาตรฐานสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์มาตรฐานสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ Bureau of Dental Health Dept. of Health มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม มีฟันแท้หรือฟันเทียมใช้เคี้ยวอาหาร 20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (รอบเอว / BMI) มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (HHC) มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล - ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก - บริการทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ มีระบบการดูแลผู้สูงอายุกลุ่ม 2 (ติดบ้าน) และกลุ่ม 3 (ติดเตียง)
กิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุกิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุ • ขับเคลื่อนการดำเนินงานสร้างเสริมสุชภาพช่องปากผู้สูงอายุ - ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน 4 คณะ เพื่อพัฒนารูปแบบ แนวทาง รับรองมาตรฐานทางวิชาการ - ประชุมเครือข่ายการดำเนินงานในระดับเขต จังหวัด อำเภอ ตำบล และแกนนำชมรมผู้สูงอายุ - สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร คู่มือ สื่อ ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานในพื้นที่ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ระดับประเทศ 1 ครั้ง
กิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุกิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุ • สำรวจและเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ • สื่อสารและรณรงค์การดูแลสุขภาพช่องปาก และการจัดบริการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ อาทิเช่น - ต้นแบบการมีสุขภาพช่องปากดีในวัย 80 และ 90 ปี - รณรงค์จัดบริการใส่ฟันเทียมในพื้นที่พิเศษร่วมกับหน่วยทันตกรรมพระราชทาน และอื่น ๆ - สื่อสารผ่านสื่อสาธารณะ
กิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุกิจกรรม/โครงการกลุ่มสูงอายุ • พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรในการดำเนินงานอย่างมีคุณภาพ - การอบรมฝึกทักษะทันตแพทย์ที่จบใหม่ในการใส่ฟันเทียมพระราชทานอย่างมีคุณภาพ (- การอบรมระยะสั้นหลักสูตรทันตกรรมผู้สูงอายุ หลักสูตร 4 เดือน) - การอบรมฝึกทักษะทันตแพทย์หลักสูตร 4R : Reline, Rebase, Repair, Renew - การประชุมสัมมนาทันตบุคลากร ด้านการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก - การประชุมพัฒนาศักยภาพภาคประชาชน • ติดตาม กำกับโครงการทั้งในระดับประเทศ เขตบริการสุขภาพ และระดับจังหวัด
Model development : การดูแลสุขภาพช่องปากและ การให้บริการทันตกรรมสำหรับในกลุ่ม NCD
Model: บูรณาการในการตรวจคัดกรองDM,HT 6th ACDOM 2014
กิจกรรม / โครงการกลุ่ม NCD 1. ประชุม / สัมมนา : มาตรการให้บริการในกลุ่ม NCD 2. ประชุมชี้แจงเขตบริการสุขภาพและศูนย์อนามัย • และสนับสนุนการดำเนินการในพื้นที่เขตบริการสุขภาพ 3. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. ติดตาม กำกับ ประเมินผล
บูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมบูรณาการด้านพัฒนาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้รับผิดชอบหลัก : กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ
สื่อสารสาธารณะ • แผนการดำเนินงาน • รณรงค์วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ๒๑ ตุลาคม “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” • - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เทิดพระเกียรติสมเด็จย่า • - ประกวด 10 ยอดฟันดี วัย 80และ 90ปี วันที่ 16-17 ตค. • - เดิน-วิ่งมินิมาราธอน วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ตุลาคม • - บริการทันตกรรมในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่คิดค่าบริการวันที่๒๑ ต.ค. • จัดนิทรรศการ เผยแพร่ข่าวสาร เสียงตามสาย วิทยุ สื่อมวลชน • ผลิตต้นแบบสื่อทันตสุขศึกษา • อบรม ผลิตภัณฑ์เพื่อการดูแลสุขภาพช่องปาก
การเฝ้าระวังฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคชุมชนการเฝ้าระวังฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคชุมชน • แผนการดำเนินงาน • ตรวจวิเคราะห์ฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค • พัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ให้สามารถ • เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา • จัดประชุมนานาชาติ • “International Fluoride research ครั้งที่ 32” • พัฒนาฐานข้อมูล • พัฒนาต้นแบบและสนับสนุนพื้นที่ • เผยแพร่สื่อสารสาธารณะและสื่อสารความเสี่ยง
การตรวจวัดปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคในสถานพยาบาลของรัฐการตรวจวัดปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคในสถานพยาบาลของรัฐ • แผนการดำเนินงาน • จัดระบบเฝ้าระวังปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคของโรงพยาบาลในสังกัดของรัฐ • เก็บตัวอย่างน้ำบริโภคจากสถานพยาบาลของรัฐ • ตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำตัวอย่าง • แจ้งผลการตรวจวิเคราะห์ • จัดเก็บในฐานข้อมูลฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค • ให้คำแนะนำการพัฒนาคุณภาพน้ำดื่ม(ลดฟลูออไรด์ในน้ำ)เฉพาะจุดที่เกินมาตรฐาน • จัดรายงานผลและเผยแพร่ • ติดตามและประเมินผล
คลินิกทันตกรรมต้นแบบควบคุมการปนเปื้อนของสารปรอทคลินิกทันตกรรมต้นแบบควบคุมการปนเปื้อนของสารปรอท จากวัสดุอุดฟันอมัลกัมในสถานพยาบาลของรัฐ • แผนการดำเนินงาน • ประชุมพัฒนาต้นแบบคลินิกทันตกรรมการควบคุมการปนเปื้อนของสารปรอทจากวัสดุอุดฟันอมัลกัม • ประชุมภาคีเครือข่ายชี้แจงการดำเนินงาน • ประชุมทันตบุคลากรเพื่อให้ความรู้เรื่องสารปรอทในสิ่งแวดล้อม • จัดทำสื่อต้นแบบและสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ • ติดตามงานและประเมินผลการดำเนินงานของคลินิกต้นแบบ • เป้าหมาย • คลินิกทันตกรรมสังกัดโรงพยาบาลของรัฐที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 แห่ง
การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ดูแลทันตสุขภาพการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ดูแลทันตสุขภาพ ขอบเขต: เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ดูแลทันตสุขภาพที่วางจำหน่าย เช่น ยาสีฟัน แปรงสีฟัน น้ำยาบ้วนปาก • แผนการดำเนินงาน • เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ทันตสุขภาพ • ปรับปรุงมาตรฐานวิชาการแปรงสีฟัน กรมอนามัย • รับรองคุณภาพแปรงสีฟันติดดาวและบริการตรวจคุณภาพแปรง • ประชุมวิชาการ ISO/TC106 • พัฒนาฐานข้อมูล • พัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ และประชุมผู้ประกอบการ • เผยแพร่สื่อสารสาธารณะและสื่อสารความเสี่ยง
การควบคุมการบริโภคยาสูบและตรวจคัดกรองรอยโรคก่อนมะเร็งช่องปากในแผนงานกลยุทธ์วิชาชีพทันตแพทย์เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบการควบคุมการบริโภคยาสูบและตรวจคัดกรองรอยโรคก่อนมะเร็งช่องปากในแผนงานกลยุทธ์วิชาชีพทันตแพทย์เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ • แผนการดำเนินงาน • รณรงค์วันงดบุหรี่โลก • ประชุมภาคีเครือข่าย • จัดทำสื่อต้นแบบและสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ • ติดตามงานและประเมินผลการดำเนินงานของคลินิกต้นแบบ
การส่งเสริม การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากคนพิการ • พัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพช่องปากคนพิการในสถานศึกษาพิเศษ • พัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพช่องปากคนพิการในชุมชน • พัฒนาศักยภาพและขยายเครือข่ายทันตบุคลากรในการให้บริการทันตกรรมแก่คนพิการ • พัฒนาการบริหารจัดการและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ ปี 58 • การได้มาของข้อมูล : ระบบรายงาน การสำรวจ โปรแกรมเฉพาะ เน้นพัฒนาการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานในทุกระดับเพื่อลดช่องว่าง • ประกาศชุดโครงสร้างมาตรฐานและมาตรฐานรายงานข้อมูลด้านสุขภาพ • สนับสนุนให้หน่วยงานภายในจังหวัดและเขตบริการฯสามารถเรียกใช้ข้อมูลจาก Data center • กำหนดบทบาทภารกิจหน่วยงานแต่ละระดับ
บทบาทภารกิจของหน่วยงานบทบาทภารกิจของหน่วยงาน • ระดับ รพสต/โรงพยาบาล: จัดเก็บข้อมูลให้ครบถ้วนครอบคลุม ตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งออก ใช้ข้อมูลเพื่อการให้บริการเฝ้าระวัง • ระดับอำเภอ: กำกับความถูกต้อง ครบถ้วน, วิเคราะห์สถานการณ์ระดับอำเภอ เฝ้าระวังสถานการณ์ • ระดับจังหวัด : ประมวล individual เป็น summary ตาม standard report, กำกับติดตามความถูกต้อง ครบถ้วน, คืนข้อมูลให้หน่วยบริการ , วิเคราะห์สถานการณ์ระดับจังหวัด, เฝ้าระวังสถานการณ์ในพื้นที่
มาตรฐานรายงานข้อมูลทันตสาธารณสุขมาตรฐานรายงานข้อมูลทันตสาธารณสุข • ประกอบด้วย 3 หมวด 20 ตาราง • รายงานการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุข • รายงานผลลัพธ์ด้านสุขภาพช่องปาก • รายงานการจัดบริการสุขภาพช่องปาก (รายงานจัดเก็บทุกกลุ่มอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงผู้สูงอายุ) ข้อมูลจากระบบแฟ้มมาตรฐานบุคคล 43 แฟ้ม
ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผนในพื้นที่ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวางแผนในพื้นที่ • ข้อมูลประชากรในพื้นที่แต่ละกลุ่มวัย • การดำเนินงานที่ผ่านมาและปัญหา อุปสรรค • มาตรการ/กิจกรรมแก้ปัญหาผสมผสานทั้งจังหวัด + ตัวชี้วัด • ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง • แหล่งข้อมูล
การจัดทำแผนปฏิบัติการปี 2558 • ทำความเข้าใจในเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ของแต่ละยุทธศาสตร์ • จัดทำเป้าหมายของเขตบริการสุขภาพ / จังหวัด โดยอ้างอิงสถานการณ์และปัญหาของเขตบริการสุขภาพ / จังหวัด • จัดทำกิจกรรมที่สนองตอบผลผลิต ผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบ • บูรณาการกับหน่วยงานระดับจังหวัด เขต และเขตบริการสุขภาพ • นำเสนอแผนอำเภอ/จังหวัด เพื่อเสนอคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
Healthy People Healthy Environment