250 likes | 450 Views
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปี พ.ศ. 2558. นายแพทย์เกษม เวชสุทธานนท์ ผู้อำนวยการกองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ. ปัจจัยเสี่ยง : อาหาร เคลื่อนไหวร่างกาย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / ยาสูบ เครียด พฤติกรรมเสี่ยง(หมวก เมา เข็มขัด ขับรถเร็ว) สารเคมีที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม.
E N D
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปี พ.ศ. 2558 นายแพทย์เกษม เวชสุทธานนท์ ผู้อำนวยการกองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ปัจจัยเสี่ยง :อาหาร เคลื่อนไหวร่างกายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์/ยาสูบ เครียดพฤติกรรมเสี่ยง(หมวก เมา เข็มขัด ขับรถเร็ว)สารเคมีที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม โรคและภัยสุขภาพ : โรค NCD มะเร็ง อุบัติเหตุทางถนน โรคจากการประกอบอาชีพฯ สถานการณ์สำคัญ ด้านสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน ที่มา : NHES ที่มา : กรมอนามัย อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อุบัติเหตุทางถนนภาพรวม (ปีพ.ศ.2545 – 2556) และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (ปีพ.ศ.2549-2556) ที่มา : สนย. ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งขาติ
กระทรวง นโยบาย รวบรวมข้อมูล/43แฟ้ม กรมวิชาการต่างๆ สสจ./สสอ. • กม. /ระเบียบ • -กฏ/ประกาศ บูรณาการคู่มือ • กำกับดูแลติดตาม • ประเมินผล สนับสนุนการดำเนินงานนิเทศติดตาม ชุมชน รพ.สต./ รพช. เทศบาล อบต. รวบรวมข้อมูล/43แฟ้ม -Treatment - Screening - Behavior change - Refer หมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาคลินิกไร้พุง (DPAC) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เป้าหมาย (เชิงปริมาณ) ปี 2557 ร้อยละสถานบริการสาธารณสุขในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) • รพศ. รพท. รพช. ร้อยละ 100 • รพ.สต. ร้อยละ ร้อยละ 60
แผนงาน โครงการพัฒนาคลินิกไร้พุง (DPAC Quality) ปี 2558 งบประมาณกรมอนามัย 2,000,000 บาท กิจกรรมส่วนกลาง กิจกรรมเขต/จังหวัด พัฒนารูปแบบการให้บริการคลินิกไร้พุงในสถานบริการสาธารณสุข (ศอ.1-12) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / สรุปบทเรียน การติดตามผล การดำเนินงาน DPAC ในเขตบริการสุขภาพที่ 1-12 • พัฒนาทักษะบุคลากรให้บริการคลินิกไร้พุง (km / สรุปบทเรียน) • การจัดทำโปรแกรมสำเร็จรูปในการประมวลผลลัพธ์สุขภาพ • การประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรมคลินิกไร้พุง และสรุปบทเรียน • ติดตาม กำกับ และประเมินการดำเนินงาน และเยี่ยมเสริมพลัง
ขั้นตอนดำเนินงานคลินิกไร้พุงคุณภาพขั้นตอนดำเนินงานคลินิกไร้พุงคุณภาพ • ชุมชน • OPD • OPD • IPD ส่งต่อ เสี่ยง Pre HT , Pre DM , OW / obesity ปกติ คัดกรอง ป่วย DPAC Uncontrol case NCD clinic Clinical Outcome Loss F/U F/U
แบบฟอร์มการติดตามผลการดำเนินกิจกรรมโครงการพัฒนาคลินิกไร้พุงแบบฟอร์มการติดตามผลการดำเนินกิจกรรมโครงการพัฒนาคลินิกไร้พุง ผลลัพธ์ด้านสุขภาพของผู้รับบริการ (ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของผู้รับบริการ) ผลลัพธ์ด้านระบบการให้บริการ • ร้อยละการเข้าถึงบริการคลินิกไร้พุง DPAC ของกลุ่มเสี่ยง (Pre HT/DM, Over weight/ Obesity) • ร้อยละการติดตามครบของกลุ่มผู้รับบริการคลินิกไร้พุง DPAC • BMI เส้นรอบเอว • ความดันโลหิต • ระดับน้ำตาลในเลือด HbA1c • ระดับไขมันในเลือด Lipid profile
เฝ้าระวัง/ พัฒนาสุขภาพประชาชนในสถาน บริการสาธารณสุข 15,726,300.- คำของบประมาณ ปีงบฯ 2558พัฒนาสุขภาพวัยทำงานงบประมาณ (ภาพรวม) 45,948,300.- พัฒนาสุขภาพ วัยทำงาน 29,456,700 บาท เฉลิมพระเกียรติ 16,491,600 บาท เฝ้าระวัง/ พัฒนาสุขภาพประชาชนในสถานประกอบกิจการ 13,730,400.- ปวงประชาร่วมใจ ปั่นสองล้อ สู่สุขภาพดี เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพฯ บริหารยุทธศาสตร ออกกำลังกายฯ 22 สิงหาคม 57
ผลักดันแนวทางการออกกำลังกายที่เหมาะสมต่อสุขภาพ • พัฒนารูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมต่อสุขภาพตามกลุ่มวัย • ด้วยรูปแบบที่เหมาะสม เช่น การปั่นจักรยาน เลนจักรยาน • สื่อสาร และส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักในการปรับเปลี่ยน • พฤติกรรมทางกายที่เหมาะสมต่อสุขภาพ และชี้ให้เห็นประโยชน์ของ • การออกกำลังกาย • พัฒนา/จัดตั้งชมรมจักรยานในระดับพื้นที่ (จังหวัด อำเภอ ตำบล) • กำกับ ติดตาม ประเมินผล โครงการเฉลิมพระเกียรติ “ปวงประชาร่วมใจ ปั่นสองล้อ สู่สุขภาพดี เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพฯ บริหารยุทธศาสตร ออกกำลังกายฯ 22 สิงหาคม 57
โครงการพัฒนาสุขภาพ วัยทำงาน 1. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 2. โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง 3. โครงการป้องกันและบำบัดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วย การออกกำลังกาย 4. โครงการพัฒนาคลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality) 5. โครงการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง 6. โครงการป้องกันมะเร็งปากมดลูกระยะก่อนเป็นมะเร็งด้วยวิธี VIA 7. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ 8. โครงการพัฒนาโรงพยาบาลต้นแบบด้านโภชนบำบัด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 9. โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรในสถานประกอบการ 10. โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม 11. โครงการส่งเสริมแบบแผนการมีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ แก่บุคลากรในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 12. โครงการเมนูชูสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม บริหารยุทธศาสตร ออกกำลังกายฯ 22 สิงหาคม 57
บูรณาการพัฒนาสุขภาพ วัยทำงาน เฝ้าระวัง/พัฒนาสุขภาพประชาชน ในสถานประกอบการ เฝ้าระวัง/พัฒนาสุขภาพประชาชน ในสถานบริการสาธารณสุข • ขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานใน • สถานประกอบการ • พัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย • ทันตสุขภาพ (3 อ 2 ส 1 ฟ) • เฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการ • ทำงาน • สื่อสารการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน เช่นโรคอ้วนลง • พุง การาขาดการออกกำลังกาย ผ่านช่องทางที่เข้าถึง • ง่าย สะดวก รวดเร็ว เช่น Social Media • ประกวดการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในสถาน • ประกอบการ “สถานประกอบการเข้มแข็ง พนักงาน • แข็งแรง” • กำกับ ติดตาม ประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพวัย • ทำงานในสถานประกอบการ • ขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสุขภาพวัย • ทำงานในสถานบริการสาธารณสุข • พัฒนารูปแบบการคัดกรองด้านทันตกรรม • โรคอ้วนและมะเร็งในวัยทำงาน (มะเร็ง • ปากมดลูก มะเร็งเต้านม) • เฝ้าระวังสถานการณ์สุขภาพวัยทำงานเชิงรุก • สื่อสารการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานผ่าน • ช่องทางที่เข้าถึงง่าย สะดวก รวดเร็ว เช่น • Social Media • กำกับ ติดตาม ประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพ • วัยทำงานในสถานบริการสาธารณสุข บริหารยุทธศาสตร ออกกำลังกายฯ 22 สิงหาคม 57
บริหารยุทธศาสตร ออกกำลังกายฯ 22 สิงหาคม 57
โครงการปวงประชารวมใจ ปั่นสองล้อ สู่สุขภาพดี เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี วัตถุประสงค์ 1. เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (วันที่ 2 เมษายน 2558) 2. รณรงค์ปั่นจักรยานทั่วประเทศเพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี 3. ส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการปั่นจักรยาน กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป กิจกรรมดำเนินงาน 1. สำรวจสถานการณ์การออกกำลังกายของประชาชนตามกลุ่มวัย (S) 2. ขับเคลื่อน/ผลักดันแนวทางการดำเนินงานฯ โดยการประชุมคณะกรรมการและประชุมถ่ายทอดกระบวนการขับเคลื่อน (N) 3. พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยจักรยาน (M) 4. รณรงค์/สร้างกระแสสังคม (T) 5. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน (M&E) งบประมาณ 16,491,600 บาท
กลุ่มอนามัยวัยทำงาน โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรในสถานประกอบการ โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง ผลการดำเนินงานปี 2557 • มีวิทยากรการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมระดับอำเภอ • ประชุมพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข (Service Plan) สาขามะเร็งเต้านม เขตบริการสุขภาพที่ 12 • บุคลากร สธ.ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายกรณี (Case Manager) • รพ.ในสังกัดและนอกสังกัดที่ผ่านการประเมินกระบวนการเป็น HPH+ ร้อยละ 59.62(539 แห่ง) • HPH PLUS 30 แห่ง • HPHNQC 48 แห่ง • อบรมตามหลักสูตรผู้ประเมินตามเกณฑ์คุณภาพ HPHNQC • พัฒนามาตรฐาน/คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุง) • วิจัยประเมินผลโครงการ HPH ในประเทศไทย • พัฒนาภาคีเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานในสถานประกอบการ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกกระทรวง • จัดทำร่างคู่มือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ • จัดทำหลักสูตรการอบรมการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง • อบรมบุคลากร สธ.ด้านการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง • จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพประชากร • วัยทอง แนวทางการดำเนินงานปี 2558 • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่าย • จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการเชิงรุกตามหลัก 3อ 2ส 1ฟ เพื่อเป็นต้นแบบ(Model) • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียนการจัดการผู้ป่วยมะเร็ง • เต้านมรายกรณี (Case Manager) • ดูแลและเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมในสถานประกอบการ โดยการสร้างสตรีแกนนำในสถานประกอบการ • พัฒนารูปแบบการบริการในสถานบริการ ทุกระดับ • จัดประชุมคณะกรรม การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพประชากร • วัยทอง • พัฒนาคู่มือ/มาตรฐาน HPH • สู่คุณภาพ • พัฒนาศักยภาพทีมเยี่ยมประเมินและผู้ ดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ • อบรมหลักสูตรพัฒนารพ. • สู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานระดับเขต/ระดับชาติ
โครงการส่งเสริมแบบแผนการมีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ แก่บุคลากรในสถานประกอบการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาสถานประกอบการต้นแบบในการจัดการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพให้เพียงพอและเหมาะสม 2. ส่งเสริมแบบแผนการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายสำหรับบุคลากรในสถานประกอบการ กลุ่มเป้าหมาย สถานประกอบการทั่วประเทศ กิจกรรมดำเนินงาน 1. สำรวจสถานการณ์การออกกำลังกายของบุคลากรในสถานประกอบการ (S) 2. ขับเคลื่อน/ผลักดันแนวทางการดำเนินงานฯ ในสถานประกอบการ (N) 3. พัฒนารูปแบบ/จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการออกกำลังกายในสถานประกอบการ (M) 4. สื่อสาร/รณรงค์ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายในสถานประกอบการ (T) 5. ติดตาม กำกับ ประเมินผลการดำเนินงาน (M&E) งบประมาณ 3,305,100 บาท
โครงการป้องกันและบำบัดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยการออกกำลังกายโครงการป้องกันและบำบัดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยการออกกำลังกาย วัตถุประสงค์ สนับสนุนให้สถานบริการกระทรวงสาธารณสุขจัดตั้งคลินิกออกกำลังกาย (Clinical Fitness) สำหรับผู้ที่เป็นโรค NCDs กลุ่มเป้าหมาย สถานบริการกระทรวงสาธารณสุข รพช.รพท. รพศ. ที่มีความตระหนักและความพร้อมจัดตั้งคลินิกออกกำลังกาย กิจกรรมดำเนินงาน 1. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้บริหารโรงพยาบาล เรื่อง แนวทางจัดตั้งและให้บริการคลินิกออกกำลังกายแก่ผู้ที่เป็นโรค NCDs (M) 2. ศึกษาดูงานการดำเนินคลินิกออกกำลังกาย (M) 3. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง โปรแกรมออกกำลังกายของผู้ที่เป็นโรค NCDs (N) งบประมาณ 442,372 บาท
โครงการพัฒนาคลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality) วัตถุประสงค์ 1. ขยายผลการดำเนินงานจัดตั้งคลินิกไร้พุง (DPAC) 2. พัฒนาและยกระดับคุณภาพการดำเนินงานสู่คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality) กลุ่มเป้าหมาย สถานบริการของกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับที่ดำเนินโครงการคลินิกไร้พุงคุณภาพ กิจกรรมดำเนินงาน 1. ขยายผลการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (M&E) 2. ประเมินคลินิกไร้พุงคุณภาพ (M&E) 3. นิเทศ/ติดตาม/เยี่ยมเสริมพลัง/ถอดบทเรียนการในดำเนินการในสถานบริการแต่ละระดับ(M&E) งบประมาณ 1,012,578 บาท
โครงการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
โครงการการป้องกันมะเร็งปากมดลูกระยะก่อนเป็นมะเร็งด้วยวิธี VIA วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในการให้คำปรึกษาและการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีวีไอเอ 2. ให้ความรู้ในการป้องกันโรคแก่ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมไม่เกิดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ตลอดจนการเฝ้าระวังในการเกิดโรค โดยพบเจ้าหน้าที่เพื่อรับการตรวจคัดกรอง 3. พัฒนาระบบควบคุมกำกับ ติดตาม และประเมินผลมะเร็งปากมดลูก กลุ่มเป้าหมาย แพทย์และพยาบาลวิชาชีพในจังหวัดที่ร่วมโครงการ กิจกรรมดำเนินงาน 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีวีไอเอ และการรักษาด้วยวิธีจี้เย็น สำหรับแพทย์และพยาบาลวิชาชีพ 1 รุ่น รุ่นละ 650,000 บาท จำนวน 34 คน Model development) 2. ควบคุมคุณภาพการดำเนินงานโครงการป้องกันมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีวีไอเอ ใน 32 จังหวัด (M&E) รวมทั้งการบริหารจัดการระบบข้อมูล 200,000 บาท งบประมาณ 850,000 บาท
โครงการเมนูชูสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในเรื่องการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ให้แก่ประชาชนกลุ่มวัยทำงาน 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายดำเนินงานเกี่ยวกับอาหารเมนูชูสุขภาพ ลกหวาน มัน เค็ม ในชุมชน ร้านอาหาร โรงเรียน และสถานประกอบการ 3. เพื่อลดปัจจัยในการเกิดโรคจากการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม และเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาล 4. เพื่อผลิตและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนรับรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเมนูชูสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มวัยทำงานขององค์กร ประกอบด้วย - สถานประกอบการต่าง ๆ - รพ.สต. - ชุมชน กิจกรรมดำเนินงาน 1. พัฒนาศักยภาพ องค์กรในสถานประกอบการ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน(National Lead) 2. สร้างความตระหนักให้กับบุคลาการวัยทำงาน ในการดูแลสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ (Technology Transfer) 3. รณรงค์สร้างกระแส ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ (Technology Transfer) 4. ส่งเสริมการบริโภคอาหารเมนูชูสุขภาพ อาหารลดหวาน มัน เค็ม (Technology Transfer) 5. ผลิตสื่อ คู่มือการดำเนินงานโครงการ (Technology Transfer) 6. การติดตามประเมินผล (M&E) งบประมาณ 2,000,0000 บาท
วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ แนวทางการจัดการ โรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ • เพื่อเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาลให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ ที่มีความปลอดภัย ให้แก่เจ้าหน้าที่ ประชาชน และผู้ป่วย • เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และกระตุ้นให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงจากการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มเป้าหมาย • ประชาชนที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง (รพศ. /รพท. /รพช. /รพ. ของศูนย์อนามัย) และประชาชนในชุมชนใกล้เคียงโรงพยาบาล งบประมาณ 2 ล้านบาท
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลต้นแบบโครงการพัฒนาโรงพยาบาลต้นแบบ ด้านโภชนบำบัดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาโรงพยาบาลต้นแบบด้านโภชนบำบัดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้เป็น แหล่งเรียนรู้ และถ่ายทอดขยายผลสู่โรงพยาบาลอื่นๆ 2.เพื่อประเมินรับรองคุณภาพกระบวนการให้บริการด้านโภชนบำบัดของโรงพยาบาลต้นแบบ กลุ่มเป้าหมาย รพ.ศ. /รพ.ท. /รพ.ช. อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง กิจกรรมดำเนินงาน 1.พัฒนาศักยภาพผู้ประเมินระดับเขต/นักโภชนาการในโรงพยาบาลเป้าหมาย (Model Development) 2.ประเมินรับรอง (Model Development) 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Technology Transfer) งบประมาณ 1,000,000 บาท