760 likes | 1.09k Views
PMQA. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ . ศ . 2553. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 255 3. การประเมินผลตัวชี้วัด. 2. Roadmap การพัฒนาองค์การ. 2552. 2554. 2553. 5. 1. 2. กรมด้านบริการ. 6. 3.
E N D
PMQA การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 การประเมินผลตัวชี้วัด 2
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 • เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 4 5 • เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
หมวด 1 การนำองค์กร
มีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยมมาประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร D LD1 L A I • กำหนดทิศทางองค์กร(วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ ผลการดำเนินงาน) • ผู้บริหาร บุคลากร ผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในกระบวนการ • มีการจัดทำแผน Flow Chart/ผู้รับผิดชอบ • มีการสื่อสาร 2 ทาง • บุคลากรรับรู้ เข้าใจ • นำไปเป็นแนวทางปฏิบัติ สอดคล้องกับพันธกิจ ความต้องการของ C/S • ทบทวนการกำหนดทิศทางองค์กร • ทบทวนวิธีการสื่อสาร 2 ทาง
ผู้บริหารจังหวัดมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในจังหวัดเดียวกัน D LD2 L I A ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานระดับรอง ตัดสินใจทันท่วงที ลดขั้นตอน ใช้ศักยภาพในการทำงาน ทำงานเป็นทีม =แสดงคำสั่งการมอบอำนาจ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.ฎ.การมอบอำนาจ =รายงานผลการใช้อำนาจ(ผู้รับมอบ) =ทบทวนการมอบอำนาจ(ผู้มอบอำนาจ)
มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย D LD3 L I A ผู้บริหาร บุคลากร =กำหนดกระบวนการ/โครงการ • กลุ่มเป้าหมายคือบุคลากรทุกระดับ • ไม่นับรวมกิจกรรมการจัดงานประจำปี • เกิดกระบวนการเรียนรู้ • การมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกหน่วยงาน • มีความผูกพัน • มีควมร่วมมือ • สร้างแรงจูงใจ =จัดกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ (ผู้บริหารต้องมีส่วนร่วม) =สรุปผลการดำเนินงาน (จัดทำเป็นรายงาน) + ข้อเสนอแนะเพื่อการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป
กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของจังหวัดให้ดีขึ้น D LD4 L/I A กำหนดเป็นวาระการติดตามตัวชี้วัด : การประชุมผู้บริหาร • เลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ • 1.แผนยุทธศาสตร์ • 2.การบรรลุพันธกิจ • 3.แผนงาน/โครงการ • กำหนดแผนการติดตาม • 1.วิธีการประเมิน • 2.กรอบเวลา • 3.ผู้รับผิดชอบ • 4.ตัวชี้วัดที่ทบทวน • กำหนดหลักเกณฑ์การจัดลำดับ • ทบทวนแนวทางการเลือกตัวชี้วัดมาทบทวน • มีการนำเอาผลที่ได้จากการทบทวนไปปรับปรุง • หลักฐานการปรับปรุง • ทบทวนตัวชี้วัด • (ผลกับเป้าหมาย) • รายงานผลการทบทวน • จัดลำดับ • ผลการจัดลำดับ • ผู้บริหารจัดลำดับเอง
มีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การดำเนินงานของจังหวัดเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี D LD5 L I A =จัดทำนโยบาย OG +แสดงขั้นตอนการจัดทำนโยบาย OG + กำหนดกิจกรรมรองรับนโยบาย OG + กำหนดแผนการดำเนินงาน 4 ด้าน 1. ด้านรัฐ สังคม 2. ด้านผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 3. ด้านองค์การ 4. ด้านผู้ปฏิบัติ =จัดกิจกรรมตามแผนทั้ง 4 ด้าน =จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน + สรุปและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม =สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม หลักธรรมาภิบาล
จังหวัดต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน D LD6 L I A =มีการควบคุมภายใน +จัดทำ Flow chart กระบวนการ =จัดทำรายงานการควบคุมภายใน (ต้องนำเสนอผู้บริหารเพื่อให้ข้อเสนอแนะ) =มีการปรับปรุงผลการดำเนินงาน (ตามแบบ ปอ 3) =สอดคล้องตามแนวทางของ ส.ต.ง
จังหวัด/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของจังหวัดรวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ D LD7 L I A =กำหนดมาตรการจัดการ/ป้องกันผลกระทบทางลบ (อย่างใดอย่างหนึ่ง) +จัดทำ Flow chart กระบวนการ =จัดทำรายงานการจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม (การกำหนดมาตรการป้องกันต้องมีการสื่อให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ) =มีทบทวนมาตรการจัดการ/ป้องกันที่เคยดำเนินการไปแล้ว (เพื่อให้การจัดการ/การป้องกันดีขึ้นกว่าเดิม) +นำผลการทบทวนไปปรับปรุง =มาตรการสอดคล้องกับพันธกิจองค์กร
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
มีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด (4 ปี) และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด (1ปี) โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และ พันธกิจของจังหวัดบรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาจังหวัด D SP1 L A I =จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด (4ปี),แผนปฏิบัติราชการประจำปี (1ปี) =กำหนดขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน =กำหนดระยะเวลา/ปฏิทิน/เดือนที่ดำเนินการแต่ละขั้นตอน =ระบุผู้รับผิดชอบแต่ละขั้นตอน +จัดทำ Flow chart กระบวนการวางแผน 4ปี และ 1ปี(ต้องทำ) =มีการจัดทำแผนที่สอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน =แสดงความเชื่อมโยงของการถ่ายทอดเป้าประสงค์ ค่าเป้าหมาย จากแผนบริหารราชการแผ่นดิน + แสดงการมีส่วนร่วมของบุคลากร และผู้บริหาร 3 ระดับ ปรับปรุงกระบวนการวางแผน เปรียบเทียบกระบวนการวางแผน นำผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกไปใช้ในการวางแผน กำหนดกลยุทธ์ตอบสนอง ความท้าท้าย (OP-3/2552)
การจัดทำแผน 4 ปีและ 1 ปี มีการนำปัจจัยภายในและภายนอกที่สำคัญและ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความเสี่ยง กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างจังหวัด D SP2 L I A ปัจจัยที่ต้องมี 1.มีกระบวนการรวบรวมข้อมูล (แสดงวิธีการรวบรวมข้อมูลแต่ละประเภท) 2.มีกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล(แสดงวิธีการการวิเคราะห์แต่ละประเภท) 1.วิสัยทัศน์ พันธกิจ 2.ความต้องการของ C/S 3.ความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม จริยธรรม 4.กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างจังหวัด 5.ปัจจัยอื่นๆ (จุดแข็ง/จุดอ่อน/สภาพแวดล้อม) ปรับเปลี่ยน/เพิ่มเติมปัจจัยในการวางแผน (ต้องเปรียบเทียบปัจจัยเดิมและปัจจัยใหม่ที่นำมาใช้ หรือการปรับเปลี่ยนวิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล) ปัจจัยต่างๆในข้อ D ถูกนำไปใช้ในการจัดทำนโยบาย OG (LD5) : ใช้ปัจจัยเดียวกัน
มีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด ปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด (1ปี) รวมทั้งต้องมีการวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ SP3 แผน 4 ปี แผน 1 ปี แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ทบทวนแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล A L/I มีแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย 1.แผนพัฒนาบุคลากร 2.แผนบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีทักษะ/สมรรถนะสูง 3.แผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านบุคคล (นำ IT มาใช้ในกระบวนการบริหารงานบุคคล) • ทบทวนแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผน 4ปีและ1ปี • แสดงความสอดคล้องของแผนบริหารทรัพยากรบุคคลกับแผน 4ปีและ1ปี
ผู้บริหารต้องมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรได้รับรู้เข้าใจและนำไปปฏิบัติ รวมทั้ง เพื่อให้มีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติดังกล่าวบรรลุผล D SP4 L A วิธีการสื่อสาร/ช่องทางการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจให้บุคลากรปฏิบัติตามแผนได้อย่างถูกต้อง ผู้บริหาร ต้องครอบคลุมประเด็น 1. การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรไปสู่การจัดทำแผน 2. การปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการ 3. ตัวชี้วัดแผนงาน/โครงการ 4. บทบาทหน้าของบุคลากรต่อการบรรลุ เป้าหมายเป้าหมายองค์กร การถ่ายทอด 1.ช่องทางที่บุคลากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2.แสดงกิจกรรมที่นำเอา Best practice มาถ่ายทอด บุคลากร
จังหวัดมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับส่วนราชการประจำจังหวัด (ทุกส่วนราชการประจำจังหวัด)และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 ส่วนราชการประจำจังหวัดอย่างเป็นระบบ SP5 A D L I • จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน) • แผนการถ่ายทอดตัวชี้วัด (Ganttchart) • การติดตามประเมินผลความก้าวหน้า KPI ระดับองค์กร • ดำเนินการตามแผนการถ่ายทอดตัวชี้วัด • มีการลงนามข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร (ไม่เกินไตรมาส 2) • มีการสื่อสาร ชี้แจง กรอบการประเมิน รายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย • แผนการติดตามการประเมินให้ทราบอย่างทั่วถึงทุกส่วนราชการ • มีการรายงานผลการปฏิบัติราชการตามแผน • สรุปคะแนนประเมินผลการปฏิบัติการของทุกส่วนราชการ (ตุลาคม53) ถ่ายทอด KPI ทุกส่วนราชการ ∟ บุคลากร (ตัวอย่าง 1ส่วนราชการ) • สรุปบทเรียนจากการติดตามและประเมินผลประจำปี • ให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก่ส่วนราชการ (และระดับบุคคล) • ความเชื่อมโยงของผลปฏิบัติงานกับการจัดสรรสิ่งจูงใจ • ประกาศ หลักเกณฑ์การจัดสรร (เงิน) ตามผลคะแนน
มิติที่ 4 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • มิติด้านประสิทธิผล • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ • การขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 1 • มิติด้านคุณภาพการให้บริการ • ความพึงพอใจ • การป้องกันการทุจริต มิติที่ 2 • มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • การบริหารงบประมาณ • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มิติที่ 3 • มิติด้านการพัฒนาองค์การ • การบริหารจัดการองค์การ
8 • คำรับรองการปฏิบัติราชการ • กองอาคาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น • ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2553 • คำรับรองระหว่าง • นาย…….ผู้อำนวยการกองอาคารและสถานที่ ผู้รับคำรับรองและ • ......(ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน)....... ........(ตำแหน่ง)............ผู้ทำคำรับรอง • 2.คำรับรองนี้เป็นคำรับรองฝ่ายเดียว มิใช่สัญญาและใช้สำหรับระยะเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2552 • รายละเอียดของคำรับรอง ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการของ………ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย/เกณฑ์การให้คะแนนและรายละเอียดอื่นๆ ตามที่ปรากฏอยู่ในเอกสารประกอบท้ายคำรับรองนี้ • 3. ข้าพเจ้า…………………….ในฐานะผู้บังคับบัญชาของ....ได้พิจารณาและเห็นชอบกับแผนปฏิบัติราชการของ……………………กรอบการประเมิน ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย/เกณฑ์การให้คะแนน และรายละเอียดอื่น ๆ ตามที่กำหนดในเอกสารประกอบท้ายคำรับรองนี้ และข้าพเจ้ายินดีจะให้คำแนะนำ กำกับ และตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ…เป็นไปตามคำรับรองที่จัดทำขึ้นนี้ • 4.ข้าพเจ้า ............... ได้ทำความเข้าใจ คำรับรองตาม 3 แล้ว ขอให้คำรับรองกับเลขาธิการหน่วยงานกรรมการการอุดมศึกษา ว่าจะมุ่งมั่นปฏิบัติราชการให้เกิดผลงานที่ดี ตามเป้าหมายของตัวชี้วัดแต่ละตัวในระดับสูงสุด เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน ตามที่ให้คำรับรองไว้ • 5. ผู้รับคำรับรองและผู้ทำคำรับรอง ได้เข้าใจคำรับรองการปฏิบัติราชการและเห็นพ้องกันแล้ว จึงได้ ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ คำรับรองฯ - เมษายน 53 - กรกฎาคม 53 - ตุลาคม 53
SP6 กระบวน การติดตาม แผน 4 ปี แผน 1 ปี แผนงาน โครงการ A D จังหวัดต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม • จัดทำรายละเอียดแผนงานโครงการ(ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ) • ดำเนินการตามแผนงาน โครงการ ปฏิทิน ระยะเวลาที่กำหนด • ติดตามการดำเนินงานตามแผน 4ปี /1ปี/แผนงาน โครงการ • แสดงระบบการติดตามผลการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัด
จังหวัดต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน/โครงการที่สำคัญซึ่งต้องครอบคลุมความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล SP7 A D การดำเนินการ L • คัดเลือกแผนงาน โครงการ ประเด็นยุทธศาสตร์และ 1แผนงาน โครงการ • เป็นแผนงาน โครงการที่ได้รับงบประมาณสูง/หรือมีผลกระทบสูง • วิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลัก COSO • จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ • มีตัวชี้วัดความสำเร็จของเป้าหมายตามแผนบริหารความเสี่ยง • มีการสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ • ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง • รายงานความก้าวหน้าต่อผู้บริหาร (ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ) • อย่างน้อย 2ไตรมาส • สรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง • เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ก่อน-หลังการดำเนินงาน • การดำเนินงาน
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
จังหวัดมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม CSI vision Mission C&S Need
จังหวัดมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว CS2 ช่องทาง รับฟัง ต้องมีประสิทธิภาพ ต้องปรับปรุง ยกตัวอย่าง การปรับปรุง
จังหวัดมีระบบที่ชัดเจนในการรวบรวมและจัดการข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/คำชมเชย โดยมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ วิเคราะห์เพื่อกำหนดวิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับรับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเหมาะสมและทันท่วงที CS3 รวบรวม ข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น คำชมเชย จัดการ วิเคราะห์ ปรับปรุง
CS4 ประเมินผลการจัดกิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน/ปรับปรุง จังหวัดมีการสร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดกลุ่ม เครือข่าย กำหนดกลุ่ม C & S Profile & ช่องทางสื่อสาร กิจกรรม สร้างความสัมพันธ์
จังหวัดมีการดำเนินการในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการผ่านกระบวนการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการส่งเสริมระดับการ มีส่วนร่วมของประชาชน CS5 ช่องทางการติดต่อ 3 ช่องทาง เปิดช่องทางการมีส่วนร่วม (ไม่ต่ำหว่าระดับ Involve) ระบบ/กลไก มีการรายงานเผยแพร่ผลการดำเนินงาน ยกระดับ การมีส่วนร่วม
CS6 จังหวัดมีการวัดทั้งความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของจังหวัด
ประเด็นความไม่พึงพอใจประเด็นความไม่พึงพอใจ -กรุณาระบุสิ่งที่ท่านยังไม่พอใจ ………………………………………………………………………………………………. -ข้อเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ส่วนที่ 2 การวัดความไม่พึงพอใจ ในการให้บริการ ท่านไม่พึงพอใจการให้บริการข้อใดมากที่สุด กรุณาเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่ (1-4) ขั้นตอนการให้บริการ เหตุผลประกอบ…………… ระยะเวลาให้บริการ เหตุผลประกอบ…………… เจ้าหน้าที่ให้บริการ เหตุผลประกอบ…………… สิ่งอำนวยความสะดวก เหตุผลประกอบ……………
จังหวัดต้องกำหนดมาตรฐานการให้บริการ ซึ่งจะต้องมีระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงานโดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ และจัดทำคู่มือการทำงานของบุคลกรในการให้บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ CS7 • ประชาชนรับทราบ • ระยะเวลาแล้วเสร็จ • ขั้นตอนการให้บริการ • ประกาศเปิดเผย • คู่มือการติดต่อราชการ • แผนภูมิการให้บริการ • คู่มือการให้บริการ (การแต่งกาย การทักทาย การรับโทรศัพท์ การกล่าวขอบคุณ • การพัฒนาบุคลากร • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน แผนภูมิ คู่มือ กำหนดมาตรฐาน การให้บริการ กำหนดวิธีการปฏิบัติ ของบุคลากร
หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้
ปัญหา IT
ปัญหา IT
ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย จังหวัดต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย IT1 • ระบบฐานข้อมูล • ข้อมูลสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ • ข้อมูลสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ • ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดคำรับรอง (49-53) • การจัดเก็บข้อมูล • ตัวข้อมูลที่จัดเก็บ • แหล่งที่มาของข้อมูล • ความถี่ในการจัดเก็บ • การสอบทาน • ผู้ใช้ฐานข้อมูล
ถูกต้อง ครอบคลุม ทันสมัย IT 2 ฐานข้อมูล พัฒนาจังหวัด จังหวัดต้องมีระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัดที่ถูกต้องครอบคลุม ทันสมัย รายการข้อมูลสำคัญของจังหวัด 45 กลุ่มเรื่อง/ตัวชี้วัดบูรณาการ 32 ตัวชี้วัด
ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย จังหวัดต้องมีระบบและสามารถคำนวณสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย IT 3 ระบบฐานข้อมูล GPP • สถิติ GPP ปี 2552 • ดำเนินการ 5 ขั้นตอน • ตามเงื่อนไขกรมบัญชีกลาง
สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง IT 4 ประชาชน จังหวัดต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม พ.ร.บ ข้อมูลข่าวสาร 2540
จังหวัดต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT5 • การดำเนินการ • จัดประเภทตัวชี้วัดเป็นระดับต่างๆ • กำหนดเวลาติดตาม • มีระบบการรายงาน • มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน การติดตาม เฝ้าระวังเตือนภัย
การบริหารความเสี่ยง แผนแก้ไขปัญหา IT ระบบรักษาความปลอดภัย จังหวัดต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ • ระบบ Anti virus • ระบบไฟฟ้าสำรอง • การกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้ IT6 • มาตรการป้องกันความเสียหาย • การสำรองข้อมูล • การกู้ข้อมูล • การแก้ไขปัญหาตามแผนที่กำหนดไว้ • รายงานผลการแก้ไขปัญหา
แผน KM ดำเนินการตามแผน ติดตามประเมินผล จังหวัดต้องมีการจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ • รายงานความก้าวหน้าทุกครั้ง • ที่มีการดำเนินตามแผน • อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง IT7 • 3 องค์ความรู้ • เลือกจาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน • ไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้เดิม • ดำเนินการทำแผน 7 ขั้นตอน • ดำเนินการตามแผน 100 % • ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 90%
แผน KM IT7
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล