690 likes | 921 Views
ความก้าวหน้าของ การดำเนินงานตามแผนงาน วัณโรคแห่งชาติ ปี 2553. 12 พฤษภาคม 2553. กลุ่มโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเรื้อน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น. หัวข้อที่นำเสนอ. สถานการณ์ปัจจุบันของวัณโรคของโลก เป้าหมายตัวชี้วัดและผลการดำเนินงานระดับสากล
E N D
ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ ปี 2553 12 พฤษภาคม 2553 กลุ่มโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเรื้อน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น
หัวข้อที่นำเสนอ • สถานการณ์ปัจจุบันของวัณโรคของโลก • เป้าหมายตัวชี้วัดและผลการดำเนินงานระดับสากล • สถานการณ์ปัจจุบันของวัณโรคในประเทศไทย • ความก้าวหน้าของแผนการดำเนินงาน • ความท้าทายในประเด็นต่างๆ • สถานการณ์ปัจจุบันของวัณโรคในเขต 6 จ.ขอนแก่น • สรุป
สถานการณ์วัณโรคของโลกสถานการณ์วัณโรคของโลก
Number of cases of MDR-TB estimated, notified and expected to be treated, 27 high MDR-TB burden countries and WHO regions.
Notified cases of MDR-TB (2005-2008) and projected numbers of patients to be enrolled on treatment (2009-2010), The numbers under each bar show the number of countries reporting data.
สถานการณ์วัณโรคของโลกสถานการณ์วัณโรคของโลก รายงานขององค์การอนามัยโลก คาดประมาณดังนี้ • ความชุก 11.1 ล้านคน • อุบัติการณ์ 8.8 ล้านคน • จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิต 1.3 ล้านคน • ผู้ป่วยวัณโรคมีการติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 15% • วัณโรคดื้อยา ( MDR) 5 แสนคน
ผลการดำเนินงานของโลกปี 2008 • Case notified new & relapse 5.7 ล้านคน • Case detection rate among new smear positive 62% • Case detection rate for all TB cases 61% • Treatment success 86% in 2007 • HIV testing among TB 22% • CPT and ART for TB/HIV 71%, 32% • ICF among PHA 4.1 % IPT 0.2% • MDR-TB treated 29%
เป้าหมายตัวชี้วัดระดับสากลเป้าหมายตัวชี้วัดระดับสากล
สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย
เป้าหมายตัวชี้วัดของประเทศและสากลเป้าหมายตัวชี้วัดของประเทศและสากล
ความก้าวหน้าของการดำเนินงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
QualityDOTS • Case detection New SS+ ได้ตามเป้าหมาย แต่โดยรวมยังค่อนข้างต่ำ • treatment success ดีขึ้น ใกล้บรรลุเป้าหมาย • อัตราขาดยาลดลง แต่อัตราตายยังสูง • ผลการดำเนินงานในกลุ่มอื่นๆ ( NM- , retreatment ) ยังขาดการเอาใจใส่
จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับรายงาน (TB case notification) ในประเทศไทย ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2552 ปีงบประมาณ หมายเหตุ:ปีงบประมาณ2552 ขาดข้อมูลในพื้นที่กทม. และ เรือนจำ (21 เมษายน 2553 ) แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค
อัตราการตรวจพบรายป่วย (Case detection rate) ในประเทศไทย ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2552 ปีงบประมาณ หมายเหตุ:ปีงบประมาณ2552 ขาดข้อมูลในพื้นที่กทม. และ เรือนจำ ( 21 เมษายน 2553) แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ ในประเทศ ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2551 (Treatment outcome of New SS+ TB cases registered in Thailand ,2003 -2008 ปีงบประมาณ แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
อัตราผลการรักษาที่ไม่ประสบความสำเร็จของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2551 (Unfavorable outcome of New SS+ TB patients registered in Thailand,2003 - 2008 ปีงบประมาณ แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะลบ ของประเทศ ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2551 (Treatment outcome of New SS- TB cases registered in Thailand ,2003 -2008 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคกลับเป็นซ้ำ ของประเทศ ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2551 (Treatment outcome of RelapseTB cases registered in Thailand ,2003 -2008 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครักษาซ้ำภายหลังล้มเหลว ของประเทศ ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2551 (Treatment outcome of TAF TB cases registered in Thailand ,2003 -2008 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครักษาซ้ำภายหลังขาดยาในประเทศ ระหว่างปีงบประมาณ 2546 - 2551 (Treatment outcome of TAD TB cases registered in Thailand ,2003 -2008 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
Quality DOTS • ความสำคัญเชิงนโยบายมากสูงสุดในประวัติศาสตร์ของแผนงานวัณโรคของประเทศไทยในปีที่ผ่านมา ( very strong commitment) • มีการพัฒนาศักยภาพของห้อง lab เพื่อการวินิจฉัยที่มีคุณภาพ • Improve คุณภาพ DOT (เพิ่มสัดส่วนของ non-family DOT) • มียาเพียงพอมียา FDC สำหรับผู้ใหญ่และเด็ก • กำกับติดตามข้อมูลได้ดีขึ้น รายงานรวดเร็วขึ้น มีการวิเคราะห์ข้อมูลในระดับพื้นที่มากขึ้น
การผสมผสาน TB/HIV • การตรวจหาเอชไอวีในผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้นทะลุเป้าหมาย • ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับ ART และ CPT ขณะที่กำลังรักษาวัณโรคเพิ่มมากขึ้น แต่ยังต่ำกว่าเป้าหมาย • การคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทำได้ดีในผู้ติดเชื้อรายใหม่ อัตราตรวจพบค่อนข้างสูง • อัตราการตายยังสูง แม้ว่าจะลดลงบ้างแต่ไม่มาก
ผลการดำเนินงานผสมผสานงานวัณโรคและโรคเอดส์ผลการดำเนินงานผสมผสานงานวัณโรคและโรคเอดส์ ระหว่างปีงบประมาณ 2549 -2552 Counseling CD4-Testing CD4<250 ARV HIV-Testing TB patients HIV infection CPT เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553 2552 2549 2550 2551
Intensified TB finding among newly detected PHAs in Thailand ,2006- 2009 %newly detected PHAs 2549 2550 2551 2552 (2006) (2007) (2008) (2009) แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
ผู้ป่วยวัณโรคได้ตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี ในประเทศไทย ระหว่างปีงบประมาณ 2549 -2552(1ต.ค.51- 30มิ.ย.52) แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัส(ARV) ในประเทศไทย ระหว่างปีงบประมาณ 2549 -2552(1ต.ค.51- 30มิ.ย.52) แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ ปี 2549 - 2551 จำแนกตามHIV STATUS ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
การผสมผสาน TB/HIV • ประชุม national TB/HIV committee • มีความก้าวหน้าของ IC • นโยบาย admission 2 weeks • จัดทำคู่มือ IC โดย สบช. เป็นแกนหลัก( GF8 ) • อบรมแนวทางการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานบริการสาธารณสุข 31 โรงพยาบาล ( GF8 ) • การประเมินมาตรการการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค 6 โรงพยาบาล ( TUC ) • โครงการการคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อ โดยใช้คำถาม 3 ข้อ และการให้ IPT ใน 8 โรงพยาบาล ( TUC )
การควบคุม MDR-TB • เริ่มมีการรายงานผู้ป่วยที่ได้รับ CAT 4 อย่างเป็นระบบ • ทบทวนการจัดทำรายงานงวดMDR-TB • ทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ซึ่งมี 2 ตัว แต่ยังไม่สามารถประเมินได้ • ทบทวนข้อบ่งชี้ของการส่ง DSTเพื่อค้นหา MDR-TB ทั้งในกลุ่ม retreatment , on treatment , pre-treatment • จัดทำโครงการเสนอ GLC (Green Light Committee)
จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการรักษา ด้วยสูตร Second lineปีงบประมาณ 2552 396 74 68 43 39 37 33 36 25 14 15 20 14 หมายเหตุ: ไม่รวมข้อมูลพื้นที่ กทม
TB in prison • มีการค้นหาเชิงรุกในเรือนจำ โดย mobile X-ray • ขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยเพิ่มขึ้น • ผลการรักษาค่อนข้างคงที่ อัตราความสำเร็จไม่ถึงเป้าหมาย อัตราตายและโอนออกยังสูง • องค์กรเอกชน (NCCM) ช่วยประสานกับ สาธารณสุข เพื่อส่งต่อผู้ป่วย
จำนวนผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำที่ได้รับรายงาน (TB case notification) ในประเทศไทย ระหว่างปีงบประมาณ 2546 – 2552-2552 3 cohort หมายเหตุ ข้อมูลปึ 2552 ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
ผลการรักษาของผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อในเรือนจำ ปี 2546 - 2551 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 21 เมษายน 2553
ผลการดำเนินกิจกรรมค้นหารายป่วยวัณโรค ในแรงงานข้ามชาติและพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า-ลาว-กัมพูชา (Case Finding Activities in Non-Thai ) ที่มา:จากการประชุมพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาวัณโรคในพื้นที่ชายแดนและแรงงานข้ามชาติ ระหว่างวันที่25-26 พฤษภาคม 2552 จังหวัดเชียงใหม่
ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม่ในแรงงานข้ามชาติ (Treatment Outcome of new m+ Case) ปี 2549 ปี 2550 จำนวนผู้ป่วย 792 ราย จำนวนผู้ป่วย 1,097 ราย ที่มา : จากการประชุมพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาวัณโรคในพื้นที่ชายแดนและแรงงานข้ามชาติ ระหว่างวันที่ 25 – 26 พฤษภาคม 2552 จังหวัดเชียงใหม่
ข้อจำกัดและแนวทางที่ได้ดำเนินการข้อจำกัดและแนวทางที่ได้ดำเนินการ
HSS : Laboratory network • เพิ่มศักยภาพห้อง lab. ของ 12 สคร. (GF6) • มีการพัฒนาศักยภาพของบุคคลากรของห้อง lab. ( GF6 ) ; อบรม และนิเทศงาน • มีงบประมาณเพิ่มขึ้นจาก สปสช เพื่อการตรวจวินิจฉัย culture และ DST ตามเกณฑ์ที่กำหนดใน guideline • Revise criteria for culture and DST เพื่อลด workload และ ลดเวลาการทำงานและตอบผลให้เร็วขึ้น
HRD • จัดทำหลักสูตรอบรม MDR-TB , MIFA • อบรมแพทย์ทั่วประเทศ 3 รุ่น • อบรม RTC • ปรับปรุง national TB guideline
Hospitals in Thailand Public health hospital ~829 (MOPH) BMA hospital 9 Public hospital 66 (non MOPH) Academia hospital 11 Private hospital 322 ที่มา: สำนักนโยบายและแผน :กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
PPM - Evolution 1999 NTP started by BTB and some region, 72 private hospitals (2009) 2004 TUC project, 27 private hospitals 2006 GFATM round 1, 11 private hospitals (2009) 2008 GFATM round 6, 63 private hospitals (2010)
ความก้าวหน้าของ PPM ประชุมคณะกรรมการพัฒนาวัณโรคในเขตเมือง โดยเน้นการพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน สำนักวัณโรค สคร. 1-12 กทม. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการโดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชน สำนักวัณโรค สคร. สสจ. รพ.รัฐนอกสธ. และรพ.เอกชน จัดทำหนังสือเครือข่ายประสานงานวัณโรค ปี 53 จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน PPM เร่งรัดฐานข้อมูลวัณโรครพ.เอกชน
ACSM • อสม. มีส่วนร่วมในการค้นหาและรักษาผู้ป่วย จากนโยบายมี incentive 600 บาท แก่ อสม. + ผ่านโครงการ GF8 • ประสานกับ อปท. (GF8)
การศึกษาวิจัย • งานวิจัยวัณโรคที่ใช้งบประมาณของ KM มีจำนวนน้อย และไม่ใช่งานวิจัยเชิงนโยบาย • Multi-center study 2 เรื่อง • MDR-TB • TB เด็ก • ประสานงานกับเครือข่าย CRCN ของมหาวิทยาลัย จะทำการศึกษาวิจัยเรื่องวัณโรคในกรุงเทพและนนทบุรี