650 likes | 1.48k Views
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ . ศ . ๒๕๔๘. ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ วัตถุอันตราย ” หมายความว่า ของเสียอันตรายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ . ศ . ๒๕๓๕.
E N D
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ๑ในประกาศนี้ “วัตถุอันตราย”หมายความว่าของเสียอันตรายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตรายพ.ศ. ๒๕๓๕
“ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย”หมายความว่าผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายตั้งแต่๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไปแบ่งออกเป็นสองขนาดดังนี้“ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย”หมายความว่าผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายตั้งแต่๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไปแบ่งออกเป็นสองขนาดดังนี้ (1)ขนาดใหญ่ได้แก่ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายตั้งแต่๑,๐๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไป (2)ขนาดกลางได้แก่ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายตั้งแต่๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง๑,๐๐๐กิโลกรัมต่อเดือน ผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายไม่เกิน๑๐๐กิโลกรัมต่อเดือนให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงฉบับนี้
“ผู้ขนส่งของเสียอันตราย”หมายความว่าผู้ขนส่งตามประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบกพ.ศ. ๒๕๔๕ “ผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย”หมายความผู้มีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายดังต่อไปนี้ (๑) โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (๒)โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนำผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
(๓)โรงงานกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ(๓)โรงงานกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (๔)โรงงานเก็บรวบรวมและกำจัดกากกัมมันตรังสี (๕)สถานีขนถ่ายของเสียอันตราย (๖) สถานที่เก็บรวบรวมของเสียอันตราย(๗)โรงงานเผาของเสียอันตราย“เอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย”หมายความว่าเอกสารที่ออกให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายและผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเพื่อเป็นหลักฐานในการมอบหมายให้ขนส่งของเสียอันตรายที่อยู่ในความครอบครองของตนจากที่แห่งหนึ่งไปยังที่อีกแห่งหนึ่ง
“เลขประจำตัว”หมายความว่าเลขที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกให้กับผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายหรือผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเพื่อใช้ในการติดตามการขนส่งของเสียอันตรายตามระบบเอกสารกำกับการขนส่ง“เลขประจำตัว”หมายความว่าเลขที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกให้กับผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายหรือผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเพื่อใช้ในการติดตามการขนส่งของเสียอันตรายตามระบบเอกสารกำกับการขนส่ง
ข้อ๒ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายผู้ขนส่งของเสียอันตรายหรือผู้เก็บรวบรวมบำบัดของเสียอันตรายต้องแจ้งเพื่อขอมีเลขประจำตัวตามแบบกำกับการขนส่ง-01 ท้ายประกาศกระทรวงนี้และให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกเลขประจำตัวให้กับผู้แจ้งภายในเจ็ดวันทำการนับจากวันที่ได้รับแจ้ง
ข้อ๓ให้เลขประจำตัวมี13หลักแต่ละหลักมีความหมายดังต่อไปนี้ข้อ๓ให้เลขประจำตัวมี13หลักแต่ละหลักมีความหมายดังต่อไปนี้ หลักที่๑–๓หมายถึงอักษรย่อที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนดขึ้นในฐานะผู้ให้เลขประจำตัว หลักที่๔หมายถึงอักษรย่อแทนประเภทของผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอันตรายได้แก่อักษร“G”(Generator)แทนผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายอักษร“T”(Transporter)แทนผู้ขนส่งของเสียอันตรายและอักษร“D” (Disposer)แทนผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย
หลักที่๕–๖หมายถึงเลขสองหลักสุดท้ายของปีที่ออกเลขประจำตัวหลักที่๕–๖หมายถึงเลขสองหลักสุดท้ายของปีที่ออกเลขประจำตัว หลักที่๗–๘หมายถึงตัวเลขระบุจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของสถานที่ดำเนินกิจการของผู้ขอเลขประจำตัวตามตารางแนบท้ายประกาศนี้ หลักที่๙–๑๒หมายถึงลำดับที่ในการออกเลขประจำตัวในแต่ละปีให้เริ่มนับใหม่ทุกครั้งที่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเลขหลักที่๕–๖ หลักที่๑๓หมายถึงเลขซึ่งมีไว้เพื่อการตรวจสอบความถูกต้องทางคอมพิวเตอร์(check digit)
ข้อ๔ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายขนาดใหญ่และขนาดกลางมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายเป็นระยะเวลาสั้นที่สุดทั้งนี้ไม่เกินระยะเวลาดังต่อไปนี้ข้อ๔ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายขนาดใหญ่และขนาดกลางมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายเป็นระยะเวลาสั้นที่สุดทั้งนี้ไม่เกินระยะเวลาดังต่อไปนี้ (๑) ขนาดใหญ่เก็บของเสียอันตรายไว้ได้ไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันเริ่มมีไว้ในครอบครอง (๒) ขนาดกลางเก็บของเสียอันตรายไว้ได้ไม่เกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันเริ่มมีไว้ในครอบครอง หากไม่สามารถดำเนินการตามระยะเวลาในวรรคหนึ่งได้ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายแจ้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบและปฏิบัติตามคำแนะนำของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ข้อ๕ในระหว่างมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายดำเนินการดังต่อไปนี้ข้อ๕ในระหว่างมีไว้ในครอบครองของเสียอันตรายให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรายดำเนินการดังต่อไปนี้ (๑) จัดทำบัญชีระบุปริมาณจำนวนภาชนะที่ใช้บรรจุตามรายชื่อของเสียอันตรายที่อยู่ในความครอบครองของตนให้เป็นปัจจุบันทุกสามสิบวัน (๒) ของเสียอันตรายต้องบรรจุในภาชนะที่มีสภาพมั่นคงแข็งแรงไม่ทำปฏิกิริยากับของเสียอันตรายที่บรรจุอยู่และต้องเป็นไปตามประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบกพ.ศ. ๒๕๔๕
(๓) ตรวจสอบอาคารหรือสถานที่ที่ใช้เก็บภาชนะแผ่นรองพื้นและภาชนะทุกสัปดาห์ (๔) จัดทำแผนและมาตรการป้องกันแก้ไขกรณีเกิดอุบัติภัยหรือเหตุฉุกเฉินให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับเลขประจำตัว (๕) จัดหาอุปกรณ์สำหรับป้องกันอุบัติภัยและเหตุฉุกเฉินให้เพียงพอต่อการป้องกันอุบัติภัยและเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการรั่วไหลระเบิดหรือเกิดเพลิงลุกใหม้ (๖) ปฏิบัติตามคำแนะนำหลักเกณฑ์และวิธีการอื่นตามที่กรมโรงงานกำหนด
ใบกำกับการขนส่งของเสียอันตราย(แบบกำกับการขนส่ง 02) ท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ. 2547 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ใบกำกับการขนส่งของเสียอันตราย(แบบกำกับการขนส่ง 02) ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ใบกำกับการขนส่งของเสียอันตรายใบกำกับการขนส่งของเสียอันตราย • ส่วนที่ 1 แสดงข้อมูลผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอันตราย ผู้ประกอบการขนส่ง และผู้รับบำบัดและ/หรือกำจัด ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เลขทะเบียนอนุญาต • ส่วนที่ 2 แสดงข้อมูลกากของเสียอันตรายที่ขนส่ง ได้แก่ ประเภทกาก ชื่อทางการขนส่ง ประเภทอันตราย (1-9) ปริมาณการบรรจุต่อภาชนะ ปริมาณรวมทั้งหมดที่ขนส่ง • ส่วนที่ 3 แสดงการลงนามรับรองการขนส่งและการบำบัดและการกำจัดของผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอันตราย ผู้ประกอบการขนส่ง และผู้รับบำบัดและ/หรือกำจัด ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ส่วนที่ 1 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ส่วนที่ 2 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ส่วนที่ 3 ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ขั้นตอนการดำเนินการตามระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายขั้นตอนการดำเนินการตามระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย 2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม สถานพยาบาล 3 อุตสาหกรรม กัมมันตรังสี ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย ชุมชนพาณิชยกรรม 6 1 -ผู้ก่อกำเนิดกรอกใบกำกับลงนามในส่วนของผู้กำเนิดทุกฉบับและส่งให้ผู้ขนส่งกรอกใบกำกับและลงนามในส่วนของผู้ขนส่ง -ผู้ก่อกำเนิดเก็บฉบับที่ 2 ไว้ และส่งฉบับที่ 3 ให้หน่วยกำกับดูแล ผู้ประกอบการสถานเก็บกัก บำบัดและกำจัดของเสียอันตราย 5 1 5 6 -ผู้ประกอบการสถานเก็บกักบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายส่งฉบับที่ 6 ให้ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย และฉบับที่ 1 ให้หน่วยงานกำกับดูแล -ผู้ประกอบการสถานเก็บกักบำบัดและกำจัดของเสียอันตรายเก็บรักษาฉบับที่ 5 ไว้ ผู้ขนส่งของเสียอันตราย 4 1 4 5 6 -ผู้ขนส่งมอบใบกำกับทุกฉบับที่นำมาให้กับผู้ประกอบการสถานเก็บกัก บำบัดและกำจัดของเสียอันตรายกรอกและลงนามในส่วนของผู้ประกอบการ สถานเก็บกักบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย -ผู้ขนส่งรับคืนฉบับที่ 4 มาเก็บรักษาไว้ การส่งใบกำกับการขนส่ง ใบกำกับการขนส่ง #
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 การขนส่งของเสียอันตรายต้องมี“เอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย”
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 ผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตราย ผู้ขนส่งของเสียอันตราย ผู้เก็บรวบรวมบำบัดและกำจัดของเสียอันตราย ต้องจัดทำระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายโดยต้องแจ้งขอมีเลขประจำตัวตามแบบกำกับการขนส่ง-01
แบบขอเลขประจำตัวผู้ดำเนินงานแบบขอเลขประจำตัวผู้ดำเนินงาน เกี่ยวกับการจัดการของเสียอันตราย (แบบกำกับการขนส่ง 01) ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 ออกเลขประจำตัวภายใน 7 วันทำการนับแต่วันที่ยื่นขอ เมื่อมีเลขประจำตัวแล้วจึงเข้าสู่ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของอันตราย
การขนส่งวัตถุอันตราย สืบเนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ให้คณะกรรมการวัตถุอันตราย ไปกำหนดหลักเกณฑ์และกติกาให้ครบถ้วนชัดเจน และเป็นไปตามมาตรฐานสากล เช่น มาตรฐานและประเภทของรถยนต์ที่ใช้ขนส่งวัตถุอันตราย บรรจุภัณฑ์ แท็งก์ติดตรึง กำหนดเส้นทาง ความเร็ว ช่วงเวลา การตรวจสภาพรถและแท็งก์ ระเบียบวิธีการขนส่ง แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาโดยผ่านรองนายกรัฐมนตรี (นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์)
คณะกรรมการวัตถุอันตรายได้มีมติประชุมครั้งที่ 14-1/2545 วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545 มีมติเห็นชอบให้ร่างประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ…. ประกาศ ฯ ดังกล่าวจะเป็นมติกลางสำหรับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบนำไปออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้มีผลบังคับใช้ตามมาตรา 20(1) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ต่อไป ประธานคณะกรรมการได้ลงนามในประกาศฉบับดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2545
ในมติคณะกรรมการประกอบด้วยเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ คือ 1. ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้ขนส่งและผู้มีไว้ในครอบครองวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติตาม “ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตราย” และ “ข้อกำหนดของแท็งก์ติดตรึง” 2. กำหนดหน้าที่ผู้ผลิต นำเข้า ส่งออก ผู้ขนส่งและผู้มีไว้ในครอบครองวัตถุอันตราย มีหน้าที่ต้องจัดทำ ตรวจสอบความถูกต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในเรื่องต่างๆ โดยเฉพาะผู้ขนส่ง ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับเส้นทาง ความเร็ว เวลา ปริมาณการบรรทุกและการระงับอุบัติภัย
3. กำหนดให้ผู้ขับรถมีหน้าที่ต้องตรวจสอบความถูกต้องเกี่ยวกับความปลอดภัย ตรวจสอบความพร้อมของรถ และไม่ขับรถในเวลาที่ร่างกายและจิตใจหย่อนความสามารถ พกใบอนุญาตขับรถ และหนังสือรับรองที่กรมการขนส่งทางบกออกให้ ตลอดจนปฏิบัติตามข้อกำหนดในเรื่อง เส้นทาง ความเร็ว และเวลาในการเดินรถ ปริมาณการบรรทุกและการระงับอุบัติภัย • 4. กำหนดคุณสมบัติของผู้ขับรถ เช่น ต้องผ่านการฝึกอบรม ไม่เป็นผู้เสพของมึนเมาอยู่เป็นประจำ ไม่เคยกระทำผิดเกี่ยวกับกฎหมายยาเสพติด ไม่เป็นผู้พิการหรือมีประวัติส่อไปทางไม่น่าไว้วางใจให้รับผิดชอบในการขับรถ
5. ผู้ขนส่งจะต้องจัดให้มีการประกันภัยการขนส่งวัตถุอันตราย • 6. เมื่อเกิดอุบัติภัยต้องแจ้งหน่วยงานผู้รับผิดชอบทราบ
ข้อกำหนดการขนส่งวัตถุอันตรายและข้อกำหนดของแท็งก์ติดตรึง( ในประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย ข้อ 2และข้อ 3 ) • ข้อกำหนดดังกล่าว นำมาจากข้อเสนอแนะในการขนส่งสินค้าอันตรายขององค์การสหประชาชาติ( UN-Recommendations)และบางส่วนของข้อตกลงในการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนของกลุ่มประชาคมยุโรป(ADR)
จำแนกประเภทของวัตถุอันตรายจำแนกประเภทของวัตถุอันตราย • การกำหนดชื่อเฉพาะและหมายเลขสหประชาชาติ (เลขสี่หลัก ) • การกำหนดบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ตามคุณสมบัติของประเภทนั้น ๆ • ข้อกำหนดใน การใช้ บรรจุภัณฑ์ (packaging , large packaging, IBCs) และแท็งก์ที่ยกและเคลื่อนย้ายได้ (portable tanks) • การกำหนดฉลาก หรือป้าย ติดที่บรรจุภัณฑ์และแท็งก์ • การทำเครื่องหมายบนบรรจุภัณฑ์และแท็งก์ • ข้อกำหนดในการผลิตและการทดสอบการตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ IBCsบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่และแท็งก์ที่ยกและเคลื่อนย้ายได้ • หลักสูตรการฝึกอบรม -การใช้ การสร้าง การทดสอบ การตรวจสอบและการกำหนดรหัสแท็งก์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ.2546 ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2546
ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้ขับรถ ผู้รับ และผู้มีไว้ในครอบครองวัตถุอันตรายต้องปฏิบัติตามมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย ลงวันที่ 15 สิงหาคม 2545นับตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน 2546 เป็นต้นไป
แท็งก์และบรรจุภัณฑ์ที่สร้างขึ้นใหม่ภายหลังวันที่1พฤศจิกายน2547 ต้องเป็นไปตามประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย(ยกเว้น360วัน) • ผู้ผลิตผู้นำเข้าผู้ส่งออกและผู้มีไว้ในครอบครองต้องนำFixed Tanksไปขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม • Fixed Tanksเก่าก่อนประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช้ให้ใช้ได้ไปจนครบ3ปีปฏิทิน(สิ้นปีพ.ศ.2548)เท่านั้น
บรรจุภัณฑ์และแท็งก์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตรายบรรจุภัณฑ์และแท็งก์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตราย • แท็งก์ที่ติดตรึงอยู่กับตัวรถ • (Fixed Tank) แท็งก์ที่ติดตรึง อยู่กับตัวรถ • Tankcontainer (TC) TC • บรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ (IBC), IBC • บรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ลิตร 250 450 1000 3000
บรรจุภัณฑ์ (Packaging)
บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตรายบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตราย • บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุอันตรายจะต้องมีขนาดไม่เกิน 400 กิโลกรัม หรือ 450 ลิตร หีบห่อบรรจุวัตถุอันตรายจะต้องมีฉลาก และเครื่องหมายอย่างน้อย 4 ประการ คือ • (1) ฉลาก • (2) หมายเลขสหประชาชาติ (UN-number) • (3) ชื่อของวัตถุอันตราย • (4) เครื่องหมาย UN ที่แสดงระดับมาตรฐานความมั่นคงแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ • (5) เครื่องหมายหรืออักษรอื่น
ตัวอย่าง UN Marking U N 1A1 / x 250 / 02 / TH / THP123 / M ผู้ผลิต หมายเลขเฉพาะของสถาบันตรวจสอบ ประเทศที่อนุญาตให้ใช้เครื่องหมาย ปีที่ผลิต ความสามารถในการทนความดัน (kPa) ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ รหัสแทนชนิดและวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์
รหัสแทนชนิดและวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ (1A1) รหัสนี้ต้องประกอบไปด้วย (1) ตัวเลขอารบิคแสดงชนิดหรือรูปลักษณะของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งมีดังนี้ รหัส ชนิด / ลักษณะบรรจุภัณฑ์ ถัง (drum ) 2 ถังไม้รูปทรงถังเบียร์ (wooden barrel ) 3 ถังทรงหลายเหลี่ยม (jerricans ) 4 กล่อง ( box ) 5 ถุง ( bag ) 6 บรรจุภัณฑ์ประกอบ (composit packaging) 7 ภาชนะปิดที่มีความดันภายใน A 1 1 1
(2) รหัสชนิดของวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์(2) รหัสชนิดของวัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ • รหัส วัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์ • เหล็กกล้า • Bอลูมิเนียม • Cไม้ธรรมชาติ • Dไม้อัด ( plywood ) • F ไม้อัดจากเศษไม้ • Gแผ่นไฟเบอร์ • Hพลาสติก • Lวัสดุสิ่งทอ • Mกระดาษ • Nโลหะอื่น ( นอกจากเหล็กกล้าและอลูมิเนียม ) • Pแก้ว กระเบื้อง หิน 1 1 A A
(3)แสดงลักษณะของบรรจุภัณฑ์ว่ามีฝาเปิดได้หรือไม่(3)แสดงลักษณะของบรรจุภัณฑ์ว่ามีฝาเปิดได้หรือไม่ • หมายเลข แสดงว่าฝาด้านบนเปิดไม่ได้ • หมายเลข 2 แสดงว่าฝาด้านบนเปิดได้ 1 A 1 1
ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ • ระดับมาตรฐานแสดงความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์มี 3 ระดับตามคุณสมบัติความเป็นอันตราย โดยกำหนดความหนา การทนความดันในระดับต่างๆ และทนแรงกระแทก ฯลฯ ดังนี้ • กลุ่มการบรรจุ ระดับมาตรฐานของภาชนะ แสดงด้วยเครื่องหมาย • Iแข็งแรงมาก X • IIแข็งแรงY • IIIแข็งแรงปานกลางZ
IBCs Intermediate Tank Containers
บรรจุภัณฑ์ IBCs (Intermediate Bulk Container,IBCs) ตัวโลหะ IBCs Code:11 A ถุงอ่อน IBCs, big bag Code: 13 L 1 IBCs ที่ทำจาก พลาสติก Code: 31 L2 1
บรรจุภัณฑ์ IBCs (Intermediate Bulk Containers) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่คงรูปหรือยืดหยุ่น ใช้บรรจุของ เหลวหรือของแข็งที่มีขนาดบรรจุไม่เกิน 3,000 ลิตร ได้รับการออกแบบให้เคลื่อนย้ายได้ด้วยเครื่องจักร จะต้องปิดฉลากและเครื่องหมายอย่างน้อย 4 ประการ
(1) ฉลาก • (2) หมายเลขสหประชาชาติ (UN-number) • (3) ชื่อของวัตถุอันตราย • (4) เครื่องหมาย UN ที่แสดงระดับมาตรฐานความมั่นคงแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ IBCs • (5) เครื่องหมายหรืออักษรอื่น
U N 11A / y / 02 89 / TH / Best IBCs 001 /1500 /500 น้ำหนักบรรจุ น้ำหนักวางซ้อนทับ ชื่อและหมายเลขของผู้ผลิต ประเทศที่อนุญาตให้ใช้เครื่องหมาย เดือนและปีที่ทำการผลิต ระดับมาตรฐานความแข็งแรงของ IBCs รหัสใช้แทนชนิดและวัสดุที่ทำ IBCs
รหัสใช้แทนชนิดและวัสดุที่ทำ IBCs ประเภทIBCsสำหรับขนถ่ายของแข็ง สำหรับขนถ่ายของเหลว ภายใต้แรงโน้มถ่วง ภายใต้ความดัน มากกว่า 10 kPa(0.1 bar) คงรูป (1) 11 21 31 ยืดหยุ่น (2) 13 -
ดังนั้นจึงมีวิธีทดสอบดังนี้ดังนั้นจึงมีวิธีทดสอบดังนี้ (1) การทดสอบการตกกระทบ (Drop Test) (2) การตรวจสอบคุณสมบัติการป้องกันการรั่วไหล (Leakproofness Test) (3) การตรวจสอบแรงดันอุทก (Hydraulic Pressure Test) (4) การตรวจสอบความแข็งแรงในการวางเรียงซ้อน (Stacking Test) (5) การทดสอบการยกด้านบน และ/หรือ ด้านล่าง (Top and Bottom Lift Test) (6) การทดสอบการฉีกขาด (Tear Test) (7) การทดสอบ*การล้มคว่ำ (Topple Test) (8) การทดสอบการตั้งขึ้น (Righting Test)
แท็งก์ (Tanks)